yafa Maiquang ทำเว็บ
เวียนว่ายตายเกิด และ กฏแห่งกรรมมีจริง - ทุกขัง
  พุทธประวัติ
  พระอรหันต์
  พระอริยบุคคล
  พระไตรปิฎก
  ศาสนาในโลก
  หน้าแรก
  ศาสนาพุทธ
  ภิกษุ-สมณะ
  การปกครองสงฆ์ไทย
  พระศรีอาริย์โพธิสัตว์
  15.2 พิธีกรรมประจำชีวิต
  17 ประวัติองค์พุทธทั้งห้า
  18 อภิญญา
  19 กฎแห่งกรรม
  19.1 กฏแห่งกรรม
  20 แก้ กรรมเก่า
  20.1 เวร
  21 วิบากกรรม
  22 ผลกรรมเมื่อผิดศีล 5
  23 ลดกรรม 45
  24.1 คู่กรรม คู่บารมี
  27 กรรมชั่ว
  28 กรรมฆ่าตัวตาย
  29 กรรมให้ผลอย่างไร ?
  29.1 เหตุให้กะเทย
  29.2 อาถรรพ์สวาท
  31 กรรมเก่ากรรมใหม่
  32 แก้กรรมด้วยตนเอง
  33 กุศลกรรม 10 ประการ
  34 อกุศลกรรม 10
  34.1 กิเลส1500ตัณหา108
  35 ความตาย
  36 เยี่ยมเมืองนรก
  38 โอปปาติกะ
  40 พญามัจจุราช
  43 ตายจะไปเกิดที่ไหน
  45 นรก
  46 สวรรค์
  คนเหนือดวง
  50 บุญ
  52 บำเพ็ญ วิปัสนา
  53 ปฏิบัติกรรมฐาน
  55 ไตรลักษณ์
  56 ฌาน 4 กับ ญาณ 16
  58 อสุภกรรมฐาน
  59 วิธีเจริญภาวนา, จิต
  60 วิริยบารมี ,ปัญญา
  63 มโนมยิทธิ
  65 วิปัสสนูปกิเลส
  67 บทความธรรมะ
  68 เห็น ศีล สมาธิ ปัญญา
  69 ศีล 5 . 8 .10. 227
  ศีล 5 แบบละอียด
  69.2 อานิสงส์ รักษาศีล5
  69.3 ศีล พระธุดงค์
  70 มงคลสูตร ๑๐
  72 อานาปานสติ
  73 มงคลสูตร
  74 มงคล ๓๘
  75 พฺรหฺมจริยญฺจ
  76 มรรคมีองค์ 8
  76.1 สังโยชน์ ๑๐
  77 สติปัฎฐาน ๔
  79 ปฏิจจสมุปบาท
  80 วิชชาจรณสัมปันโน
  จิตประภัสสร
  83 ฟัง พระโชดกญาณ
  83.1 ฟัง หลวงพ่อโชดก1
  85 ฟัง หลวงพ่อพุธฐานิโย
  86 ฟัง หลวงพ่อจรัญ
  88 ฟัง พระพรหมคุณา
  90 ฟัง สมภพโชติปัญโญ
  94 เกิดมาทำไม
  95 ติดต่อโลกวิญญาณ
  96 พุทธศาสนสุภาษิต
  97 ร้อยผกา
  98 เปรียบศาสนา
  99 เตือนสติผู้ปฏิบัติ
  99.1 พระดูหมอผจญมาร
  101 เคล็ดลับ
  102 เพื่อหนีบาป
  103 บริจาคเลือด
  104 ขยะในใจ
  105 วิวาห์ ทารุณ
  107 วิธีช่วยคนใกล้ตาย
  109 การประเคน
  110 การจุดธูปบูชา
  111 การแผ่เมตตา
  112 วิธีใช้หนี้พ่อแม่
  113 คุณบิดา-มารดา
  114 วิธีกราบ
  115 อธิษฐาน
  106 แด่เธอผู้มาใหม่
  116 แขวนพระเพื่ออะไร
  117 เลือกเกิดได้จริง
  118 ทำนายฝัน
  119 พระเจ้าทำนายฝัน
  120 เสียงธรรมะ
  121 โอวาท เสียงธรรม
  122 สัตว์ไปตามกรรม
  123 นิทานธรรมะ
  124 ฟังเสียง หนังสือ
  124.1 ฟัง นิทานอีสป
  125 ละครเสียงอิงธรรม
  126 เสียง อ่านหนังสือ
  126.1 เสียง ทางสายเอก
  127 หนังสือธรรมะ
  128 ฟังบทสวดมนต์
  129 เทศน์มหาชาติ
  130 เพลงสร้างสรรค์
  131 สารบัญคำสอน
  เรื่องจริงอิงนิทาน ลี้ลับ
  แนะวิธีหนีนรกแบบง่ายๆ
  ,
  แนะนำ วิธีป้องกัน โรค
  F 1 บำบัดความเครียด
  F 2 ความวิตกกังวล
  F 3 วิธีรักษา โรคต่างๆ
  F 4 ตรวจสุขภาพผู้หญิง
  F 5 มะเร็ง
  F 6 ทำแท้งเถื่อน
  F 7 เป็นภูมิแพ้
  F 8 การช่วยชีวิตฉุกเฉิน
  F 9 ช่วยเหลือผู้จมน้ำ
  .
  ข่าว บันเทิง
  M 1 ดูทีวีออนไลน์
  M 2 ฟังวิทยุ
  M 3 หนังสือพิมพ์วันนี้
  M 4 หอ มรดกไทย
  M 5 มรดกไทย
  M 6 ที่สุดของโลก
  M7 เรื่องน่ารู้
  M 9 ตอบ-อ่าน
  M 10 ดูดวง..
  M 11 ฮวงจุ้ย จีน
  ..
  ค้นหา ข้อมูลช่วยเหลือ
  S 1 ท่องเที่ยวไทย
  S 2 Airway
  S 2.1 สถานีขนส่ง - Bahn
  S 2.2 GPS
  S 3 อากาศไทย
  S 4 เวลา อากาศ โลก
  S 5 กงสุลใหญ่
  S 6 เว็บไซต์สำคัญ
  S 7 วัดไทยในต่างแดน
  S 8 ราคาเงินยูโรวันนี้
  S 9 ราคาทองคำวันนี้
  S 10 แปล 35 ภาษาไทย
  S 11 บอกบุญ ทำบุญ
  *
  D 1 Informationen Thailand
  D 2 Buddha
  D 3 Thai Reise
  D 4 Super foto
  D 5 Logo
  ...
  Z 1 Clip คำขัน
  Z 2 Clip นิทานธรรมะ
  Z 3 Clip อัศจรรย์
  Z 4 Clip เรื่องจริง
  30 กรรมลิขิต Clip
  Z 5 Clip บาป-บุญ
  Z 6 Clip หนัง Kino
  แนะนำติชม
  Meditation
  Free Thamma CD
  Titel der neuen Seite
  ธรรมที่อุปการะสมาธิ
  การใช้ชีวิตคู่
  เกมส์คุณหนู
  เว็บพระพุทธศาสน
  กรรมฐานแก้กรรม
  "สุข" แม้ในยาม เศร้า
  เกมส์คุณหนู 1
  Karaoke
  ค่าน้ำนม
  เสียงอ่านพระไตรปิฎก
  logo1
  ศูนย์พิทักษ์ศาสนา
  รวมบทความธรรมะ
  ตัณหา
  การ ทำสมาธิ
  จิต
  เอตทัคบุคคล
  ทุกขัง
  ปาติโมกข์
  3eite
  koon
  koon1
  หนังสือธรรมะ
  Pali Buddha Sprache
  Dhamma Lehrer
  Albert Einstein
  Doeawlöd
  ลุงบุญมีระลึกชาติ
  visak
  คำปลง

ทุกข์ หรือ ทุกขัง (บาลี: ทุกฺขํ) เป็นหลักธรรมสำคัญในพระพุทธศาสนา แปลว่าทนอยู่ในสภาพเดิมได้ยาก โดยทั่วไปหมายถึง สังขารธรรม อันได้แก่ ขันธ์ 5 คือสังขารทั้งปวงล้วนเป็นที่ตั้งของกองทุกข์

ทุกข์ในทางพระพุทธศาสนา ถือเป็นกิจในอริยสัจ 4 ที่ชาวพุทธต้องกำหนดรู้เพื่อละและปล่อยวางในลำดับต่อไปในกิจทั้งสี่ใน อริยสัจ อันได้แก่ รู้ทุกข์ เพื่อค้นหาสาเหตุในการดับทุกข์ (สมุทัย) แล้วจึงตั้งจุดมุ่งหมายในการดับทุกข์ (นิโรธ) และดำเนินตามเส้นทางสู่ความดับทุกข์ (มรรค) คือสละ ละ ปล่อยวาง ไม่ยึดติดในใจด้วยอำนาจกิเลส

ทุกข์ จัดเป็นหนึ่งในชื่อเรียกที่เป็นคำไวพจน์ของขันธ์ซึ่งถูก ใช้เป็นอย่างมากในพระไตรปิฎก จะมาคู่กับคำไวพจน์ของขันธ์อีก 2 คำ คือ อนิจจัง กับ อนัตตา นั่นเอง

ทุกข์เป็นความจริงอันประเสริฐข้อที่ 1 ในอริยสัจจ์ 4 ทุกขอริยสัจจ์ ซึ่งพระพุทธองค์ได้อธิบายไว้ในมหาสติปัฏฐานสูตรดังนี้ :-

  1. ชาติ หมายถึง ความเกิด ความบังเกิด ความหยั่งลงเกิด เกิดจำเพาะ ความปรากฏแห่งขันธ์ ความได้อายตนะครบ ในหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ
  2. ชรา หมายถึง ความแก่ ภาวะของความแก่ ฟันหลุด ผมหงอก หนังย่นเป็นเกลียว ความเสื่อมแห่งอายุ ความแก่หง่อมแห่งอินทรีย์ ในหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ
  3. มรณะ หมายถึง ความเคลื่อน ภาวะของความเคลื่อน ความแตกทำลาย ความหายไป มฤตยู ความตาย ความทำกาละ ความทำลายแห่งขันธ์ ความทอดทิ้งซากศพไว้ ความขาดแห่งชีวิตินทรีย์ จากหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ
  4. โสกะ หมายถึง ความแห้งใจ กิริยาที่แห้งใจ ภาวะแห่งบุคคลผู้แห้งใจ ความผาก ณ ภายใน ความแห้งผาก ณ ภายใน ของบุคคลผู้ประกอบด้วย ความพิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง ผู้ถูกธรรมคือ ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่ง กระทบแล้ว
  5. ปริเทวะ หมายถึง ความคร่ำครวญ ความร่ำไรรำพัน กิริยาที่คร่ำครวญ กิริยาที่ร่ำไรรำพัน ภาวะของบุคคลผู้คร่ำครวญ ภาวะของบุคคลผู้ร่ำไรรำพัน ของบุคคลผู้ประกอบด้วย ความพิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง ผู้ถูกธรรมคือทุกข์ อย่างใดอย่างหนึ่งกระทบแล้ว
  6. ทุกข์ (กาย) หมายถึง ความลำบากทางกาย ความไม่สำราญทางกาย ความเสวยอารมณ์ อันไม่ดีที่เป็นทุกข์เกิดแต่ กายสัมผัส
  7. โทมนัส หมายถึง ความทุกข์ทางจิต ความไม่สำราญทางจิต ความเสวยอารมณ์อันไม่ด ีที่เป็นทุกข์เกิดแต่ มโนสัมผัส (สัมผัสทางใจ นึกคิดขึ้นมา)
  8. อุปายาส หมายถึง ความแค้น ความคับแค้น ภาวะของบุคคลผู้แค้น ภาวะของบุคคลผู้คับแค้น ของบุคคล ผู้ประกอบด้วยความพิบัติ อย่างใดอย่างหนึ่ง ผู้ถูกธรรมคือ ทุกข์ อย่างใดอย่างหนึ่ง กระทบแล้ว
  9. ความประจวบกับสิ่งไม่เป็นที่รัก หมายถึง ความประสบ ความพรั่งพร้อม ความร่วม ความระคน ด้วยรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (ความรู้สึกทางกาย) อันไม่น่าปรารถนา ไม่น่าใคร่ ไม่น่าพอใจ หรือด้วย บุคคลผู้ปรารถนาสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ ปรารถนาสิ่งที่ไม่เกื้อกูล ปรารถนาความไม่ผาสุก ปรารถนาความไม่เกษมจากโยคะ (กิเลส) ซึ่งมีแก่ผู้นั้น
  10. ความพลัดพรากจากสิ่งที่รัก หมายถึง ความไม่ประสบ ความไม่พรั่งพร้อม ความไม่ร่วม ความไม่ระคน ด้วยรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ หรือด้วยบุคคลผู้ปรารถนาประโยชน์ ปรารถนาสิ่งที่เกื้อกูล ปรารถนาความผาสุก ปรารถนาความเกษม จากโยคะ คือ มารดา บิดา พี่ชาย น้องชาย พี่หญิง น้องหญิง มิตร อมาตย์ หรือ ญาติสาโลหิต ซึ่งมีแก่ผู้นั้น
  11. ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้น หมายถึง ความปรารถนาย่อมบังเกิดแก่ สัตว์ผู้มีความเกิดเป็นธรรมดา สัตว์ผู้มีความแก่เป็นธรรมดา สัตว์ผู้มีความเจ็บเป็นธรรมดา สัตว์ผู้มีความตายเป็นธรรมดา สัตว์ผู้มี โสกปริเทวทุกขโทมนัสอุปายาสเป็นธรรมดา อย่างนี้ว่า โอหนอ ขอเราไม่พึงมีความเกิดเป็นธรรมดา ขอความเกิดอย่ามีมาถึงเราเลย ขอเราไม่พึงมีความแก่เป็นธรรมดา ขอความแก่อย่ามีมาถึงเราเลย ขอเราไม่พึงมีความเจ็บเป็นธรรมดา ขอความเจ็บอย่ามีมาถึงเราเลย ขอเราไม่พึงมีความตายเป็นธรรมดา ขอความตายอย่ามีมาถึงเราเลย ขอเราไม่พึงมี โสกปริเทวทุกขโทมนัสอุปายาส เป็นธรรมดา ขอโสกปริเทวทุกขโทมนัสอุปายาส อย่ามีมาถึงเราเลย สัตว์ไม่พึงได้สมความปรารถนา

สรุปว่าอุปาทานขันธ์ 5 ทั้งหมดนั่นเองที่เป็นทุกข์ เป็นโทษ เป็นภัยที่สุด.

ปกติแล้วเรามักเห็นว่า บางครั้งท่านใช้ความหมายของทุกข์ควบคู่ไปกับทุกขเวทนา, จนทำให้เข้าใจกันว่า ทุกข์หมายถึงความทุกข์เจ็บปวด เป็นต้น แต่หากพิจารณาตามข้อความที่ยกมานี้ จะพบว่า ใน 11 ข้อนี้ มีถึง 6 ข้อ (เกินครึ่ง) ที่ไม่ได้หมายถึงเพียงทุกขเวทนาเท่านั้น แต่หมายถึงขันธ์ทั้งหมด. 6 ข้อนี้ ได้แก่ ชาติ, ชรา, มรณะ, ความ ประจวบกับสิ่งไม่เป็นที่รัก, ความ พลัดพรากจากสิ่งที่รัก,ปรารถนา สิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้น.

เมื่อว่ากันทั่วไปตามโวหารโลกตามหลักวิชาการทางพระพุทธศาสนาแล้ว ในขณะที่เกิด (ปฏิสนธิขณะ) และขณะที่ตาย (จุติขณะ) ของสรรพสัตว์นั้น ไม่ว่าจะเกิดและตายอย่างพิศดารผาดโผนโจนทะยานเท่าใดก็ตาม แต่ชั่วเวลาไม่ถึงเสี้ยววินาทีที่จะเกิดและตายนั้น จะไม่มีใครเกิด และตายอย่างมีทุกขเวทนา, และเมื่อว่าโดยปรมัตถ์ให้ละเอียดลงไป การเกิดขึ้น (อุปาทานุขณะ) ความแก่ (ฐิตานุขณะ) และความตาย (ภังคานุขณะ) ของขันธ์ ก็ไม่ได้มีกับทุกขเวทนาเท่านั้นด้วย แต่มีกับขันธ์ 5 แทบทั้งหมด. ส่วนความ ประจวบกับสิ่งไม่เป็นที่รัก, ความ พลัดพรากจากสิ่งที่รัก,ปรารถนา สิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้น นั้นเมื่อว่าโดยตรงแล้วตัณหาจะไม่มีทุกขเทนาเด็ดขาด. และความประจวบ ความพลัดพรากนั้น ก็มีกับขันธ์ทั้งหมด. ส่วนความปรารถนาแล้วไม่ได้นั้นเมื่อว่าโดยตรงแล้ว ก็ไม่เกิดกับทุกขเวทนาเช่นกัน และเมื่อกล่าวโดยรวมแล้วก็ยังจัดได้ว่ามีกับขันธ์ 5 ทั้งหมดด้วยเช่นกัน.

ฉะนั้นทุกข์จึงไม่ใช่แต่เพียงทุกขเวทนาเท่านั้น แต่หมายถึงขันธ์ 5 ทั้งหมด ดังนั้นในพระสูตรทั่วไป เช่น จูฬเวทัทลสูตร เป็นต้น รวมถึงอรรถกถาต่างๆ เช่น อรรถกถาสติ ปัฏฐานสูตร เป็นต้น ท่านจึงได้อธิบายให้สุขเวทนาและอุเบกขาเวทนาว่าเป็น ทุกข์ด้วย เพราะเป็นสิ่งที่แปรเปลี่ยนไปและเป็นสังขารธรรมเป็นต้นนั่นเอง.

นอกจากนี้ยังอาจแบ่งทุกข์ในอริยสัจ 4 ได้เป็น 2 กลุ่มคือ

  1. สภาวทุกข์ คือทุกข์ประจำ ทุกข์ที่มีอยู่ด้วยกันทุกคน ไม่มียกเว้น ได้แก่ความเกิด ความแก่ ความตาย
  2. ปกิณณกทุกข์ คือทุกข์จร ทุกข์ที่จรมาเป็นครั้งคราว ได้แก่ ความเศร้าโศก ความพร่ำเพ้อรำพัน ความไม่สบายใจ ความน้อยใจ ความคับแค้นใจ ความประสบกับสิ่งที่ไม่ชอบ ความพลัดพรากจากสิ่งที่ชอบ ความผิดหวังไม่ได้ตามที่ต้องการ

ในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา มีศัพท์ที่เกี่ยวกับทุกข์อย่างน้อย 4 ศัพท์ ซึ่งใช้ทั่วไปในคัมภีร์ และมักจะถูกเข้าใจสับสนอยู่เสมอด้วย, 4 ศัพท์นี้ ได้แก่ ทุกฺขํ ทุกฺขเวทนา ทุกฺขตา และ ทุกฺขลกฺขณํ. ซึ่งเขียนในรูปแบบภาษาไทยได้ว่า ทุกข์ (ขันธ์ 5), ทุกขเวทนา (ความรู้สึกทุกข์), ทุกขตา (ทุกขลักษณะ), และทุกขลักษณะ (ทุกขตา) จึงขอให้คำจำกัดความไว้ดังนี้ :-

  1. ทุกฺขํ หมายถึง ขันธ์ 5.
  2. ทุกฺขเวทนา หมายถึง เวทนาขันธ์ ซึ่งเป็นเพียง 1 ในขันธ์ที่มีอยู่ทั้งสิ้น 5 ประการ.
  3. ทุกฺขตา หมายถึง อาการที่ทนดำรงอยู่ไม่ได้เลยเป็นต้นของขันธ์ 5 (เป็นคำไวพจน์ของทุกขลักษณะนั่นเอง).
  4. ทุกฺขลกฺขณํ หมายถึง อาการที่หมดสิ้นไปเป็นต้นของขันธ์ 5 (เป็นคำไวพจน์ของทุกขตานั่นเอง).

บรรดา 4 คำนี้ คำว่า ทุกข์ (ทุกฺขํ) มีใช้มากที่สุด และยังถูกเข้าใจผิดมากที่สุดอีกด้วย เพราะมักใช้แทนคำว่า ทุกขเวทนา กันตามความหมายในภาษาไทย และบางครั้งก็ยังแผลงศัพท์ไปใช้แทนคำว่าทุกขตาและคำว่าทุกขลักษณะอีกด้วย เช่น เขียนว่า ทุกขตา (ทุกข์) เป็นต้น ซึ่งที่จริงแล้ว ใช้แทนกันไม่ได้ เพราะทุกขตาหมายถึงทุกขลักษณะ แต่ทุกข์หมายถึงขันธ์ 5 ที่มีทุกขลักษณะนั้น.
 

ทุกข์ กับ ทุกขลักษณะ เป็นคนละอย่างกัน เพราะเป็น ลักขณวันตะ และ ลักขณะ ของกันและกัน ดังนี้ :-

  • ทุกข์ (ทุกฺขํ) - หมายถึง ขันธ์ 5 ทั้งหมด เป็นปรมัตถ์ เป็นสภาวะธรรม มีอยู่จริง, คำว่า"ทุกข์"เป็นคำไวพจน์ชื่อหนึ่งของขันธ์ 5.
  • ทุกขลักษณะ (ทุกฺขตา,ทุกฺขลกฺขณํ) - หมายถึง เครื่องกำหนดขันธ์ 5 ทั้งหมดซึ่งเป็นตัวทุกข์. ทุกขลักษณะเป็นบัญญัติ ไม่ใช่สภาวะธรรม ไม่มีอยู่จริง ดังที่ท่านกล่าวไว้ในอัฏฐสาลินีว่า "วุ ฏฺฐานคามินี ปน วิปสฺสนา กิมารมฺมณาติ ลกฺขณารมฺมณาติ. ลกฺขณํ นาม ปญฺญตฺติคติกํ น วตฺตพฺพธมฺมภูตํ.-ก็วุฏฐานคามินีวิปัสสนามีอะไรเล่าเป็นอารมณ์ ตอบว่า มีลักษณะเป็นอารมณ์ ชื่อว่า ลักษณะมีคติเป็นบัญญัตติ เป็นนวัตตัพพธรรม"[6]. ทุกขลักษณะทำให้เราทราบได้ว่าขันธ์ 5 เป็นทุกข์ บีบคั้น น่ากลัวมาก ซึ่งได้แก่ อาการความบีบคั้นบังคับให้เปลี่ยนแปลงไปอยู่เป็นเนืองนิจของขันธ์ 5 เช่น อาการที่ขันธ์ 5 บีบบังคับตนจากที่เคยเกิดขึ้น ก็ต้องเสื่อมสิ้นไปเป็นขันธ์ 5 อันใหม่, อาการที่ขันธ์ 5 จากที่เคยมีขึ้น ก็ต้องกลับไปเป็นไม่มีอีกครั้ง เป็นต้น.

ในวิสุทธิมรรค ท่านได้ยกทุกขลักษณะจากปฏิสัมภิทามรรคมา แสดงไว้ถึง 10 แบบ เรียกว่า โต 10 และในพระไตรปิฎกยังมีการแสดงทุกขลักษณะไว้ในแบบอื่นๆอีกมากมาย. แต่คัมภีร์ที่รวบรวมไว้เป็นเบื้องต้นเหมาะสำหรับเป็นคู่มือสำหรับปฏิบัติ ธรรมได้แก่ คัมภีร์ปฏิสัมภิทามรรค เพราะสามารถจะจำคำที่คนโบราณใช้กำหนดกันจากคัมภีร์นี้แล้วนำไปใช้ได้ทันที ดังที่ท่านแสดงไว้เป็นต้นว่า "จกฺขุ อหุตฺวา สมฺภูตํ หุตฺวา น ภวิสฺสตีติ ววตฺเถติ - นักปฏิบัติธรรมย่อมกำหนดว่า "จักขุปสาทที่ยังไม่เกิด ก็เกิดมีขึ้น พอมีขึ้นแล้วต่อไปก็จะกลายเป็นไม่มีไปอีก"เป็นต้น (ให้เพ่งเล็งถึงลักษณะที่บีบบังคับตัวเองให้ต้องเปลี่ยนไป ก็จะกลายเป็นการกำหนดทุกขลักษณะ).

กรรมในพระพุทธศาสนา (ภาษาสันสกฤต : กรฺม, ภาษาบาลี : กมฺม) แปลว่า "การกระทำ" ได้แก่ กระทำทางกาย เรียก กายกรรม ทางวาจา เรียก วจีกรรม และทางใจ เรียก มโนกรรม

  • กรรม แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
  1. กรรมดี เรียกว่า กุศลกรรม หรือ บุญกรรม
  2. กรรมชั่ว เรียกว่า อกุศลกรรม หรือ บาปกรรม

กรรม 2 (การกระทำ, การกระทำที่ประกอบด้วยเจตนา ทางกายก็ตาม ทางวาจาก็ตาม ทางใจก็ตาม - Kamma: action; deed)[1]

  1. อกุศลกรรม (กรรมที่เป็นอกุศล, กรรมชั่ว, การกระทำที่ไม่ดี ไม่ฉลาด ไม่เกิดจากปัญญา ทำใหเสื่อมเสียคุณภาพชีวิต หมายถึง การกระทำที่เกิดจากอกุศลมูล คือ โลภะ โทสะ หรือโมหะ - Akusala-kamma: unwholesome action; evil deed; bad deed)
  2. กุศลกรรม (กรรมที่เป็นกุศล, กรรมดี, การกระทำที่ดี ฉลาด เกิดจากปัญญา ส่งเสริมคุณภาพของชีวิตจิตใจ หมายถึง การกระทำที่เกิดจากกุศลมูล คืออโลภะ อโทสะ หรืออโมหะ -Kusala-kamma: wholesome action; good deed)

การ จำแนกประเภทของกรรม


กรรมดี หรือ กรรมชั่วก็ตาม กระทำทางกาย วาจา หรือทางใจก็ตาม สามารถจำแนกอีก เป็นประเภทต่าง ๆ ได้หลายแบบ ดังนี้

  • กรรมจำแนกตามเวลาการให้ผลของกรรม (ปากกาลจตุกะ) 4 อย่าง
  • กรรมจำแนกตามหน้าที่ของกรรม (กิจจตุกะ) 4 อย่าง
  • กรรมจำแนกตามลำดับการให้ผลของกรรม (ปากทานปริยายจตุกะ) 4 อย่าง
  • กรรมจำแนกตามฐานที่ให้เกิดผลของกรรม (ปากฐานจตุกะ) 4 อย่าง

จำแนก ตามเวลาการให้ผลของกรรม

การกระทำทางกาย วาจา ใจ ทั้งที่เป็นฝ่ายดีหรือไม่ดีก็ตาม ย่อมตอบสนองแก่ผู้กระทำ ไม่เร็วก็ช้า เวลาใดเวลาหนึ่ง กรรมจำแนกตามเวลาการให้ผลของกรรม (ปากกาลจตุกะ) แสดงกำหนดเวลา แห่งการให้ผลของกรรม มี 4 อย่าง คือ

  1. ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม หมายถึง กรรมที่ให้ผลในปัจจุบัน คือในภพนี้
  2. อุปปัชชเวทนียกรรม หมายถึง กรรมที่ให้ผลในภพที่จะไปเกิด คือในภพหน้า
  3. อปราปริเวทนียกรรม หมายถึง กรรมที่ให้ผลในภพต่อๆไป
  4. อโหสิกรรม หมายถึง กรรมเลิกให้ผล ไม่มีผลอีก

จำแนก ตามหน้าที่ของกรรม

กรรมจำแนกตามหน้าที่การงานของกรรม (กิจจตุกะ) กรรมมีหน้าที่ ที่จะต้องกระทำสี่อย่าง คือ

  1. ชนกกรรม หมายถึง กรรมที่เป็นตัวนำไปเกิด กรรมแต่งให้เกิด
  2. อุปัตถัมภกกรรม หมายถึง กรรมสนับสนุน กรรมที่ช่วยสนับสนุนหรือซ้ำเติม ต่อจากชนกกรรม
  3. อุปปีฬิกกรรม หมายถึง กรรมบีบคั้น กรรมที่มาให้ผล บีบคั้นผลแห่งชนกกรรมและอุปัตถัมภกกรรมนั้น ให้แปรเปลี่ยนทุเลาลงไป บั่นทอนวิบากมิให้เป็นไปได้นาน
  4. อุปฆาตกกรรม หมายถึง กรรมตัดรอน กรรมที่แรงฝ่ายตรงข้ามกับชนกกรรมและอุปัตถัมภกกรรม เข้าตัดรอนการให้ผลของกรรมทั้งสองอย่างนั้น ให้ขาดไปเสียทีเดียว

จำแนก ลำดับการให้ผลของกรรม

กรรมจำแนกตามลำดับการให้ผลของกรรม (ปากทานปริยายจตุกะ) จำแนกตามความยักเยื้อง หรือ ลำดับความแรงในการให้ผล 4 อย่าง

  1. ครุกกรรม (หนังสือพุทธธรรมสะกดครุกกรรม หนังสือกรรมทีปนีสะกดครุกรรม) หมายถึง กรรมหนัก ให้ผลก่อน เช่น ฌานสมาบัติ 8 หรือ อนันตริยกรรม
  2. พหุลกรรม หรือ อาจิณกรรม หมายถึง กรรมที่ทำมาก หรือ ทำจนเคยชิน ให้ผลรองจากครุกรรม
  3. อาสันนกรรม หมายถึง กรรมจวนเจียน หรือ กรรมใกล้ตาย คือกรรมที่ทำเมื่อจวนจะตาย จับใจอยู่ใหม่ๆ ถ้าไม่มีสองข้อก่อน ก็จะให้ผลก่อนอื่น
  4. กตัตตากรรม หรือ กตัตตาวาปนกรรม หมายถึง กรรมอื่นที่เคยทำไว้แล้ว นอกจากกรรม 3 อย่างข้างต้น, ฏีกากล่าวว่า กรรมนี้ให้ผลในชาติที่ 3 เป็นต้นไป (กตตฺตา-สิ่งที่เคยทำไว้, วา ปน-ก็หรือว่า, กมฺม-กรรม).กตัตตากรรมนี้ ในตำราทางพุทธศาสนาหลายแห่ง (เช่น หนังสือกรรรมทีปนี พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลธรรม และหนังสือพุทธธรรมฉบับขยายความ) ได้บรรยายไว้ว่า หมายถึง กรรมสักแต่ว่าทำ กรรมที่ทำไว้ด้วยเจตนาอันอ่อน หรือมิใช่เจตนาอย่างนั้นโดยตรง ต่อเมื่อไม่มีกรรมอันอื่นให้ผลแล้ว กรรมนี้จึงจะให้ผล

จำแนก ตามฐานที่ให้เกิดผลของกรรม

กรรมจำแนกตามฐานที่ให้เกิดผลของกรรม (ปากฐานจตุกะ) แสดงที่ตั้งแห่งผลของกรรมสี่อย่าง เป็นการแสดงกรรมโดยอภิธรรมนัย (ข้ออื่นๆข้างต้นเป็นการแสดงกรรมโดยสุตตันตนัย)

  1. อกุศลกรรม
  2. กามาวจรกุศลกรรม
  3. รูปาวจรกุศลกรรม
  4. อรูปาวจรกุศลกรรม

กรรม ดำ กรรมขาว

นอกจากเรื่องของกรรมดีกรรมชั่วแล้ว ยังมีการอธิบายกรรมอีกนัยหนึ่ง โดยอธิบายถึงกรรมดำกรรมขาว จำแนกเป็นกรรม 4 ประการ คือ

  1. กรรมดำมีวิบากดำ ได้แก่ บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมปรุงแต่งกาย วาจา ใจ อันมีความเบียดเบียนบุคคลอื่น ย่อมได้เสวยเวทนาที่มีความเบียดเบียน เป็นทุกข์โดยส่วนเดียว เช่น เป็นผู้ฆ่ามารดา ฆ่าบิดา ฆ่าพระอรหันต์ มีจิตประทุษร้ายต่อพระตถาคต ยังพระโลหิตให้ห้อขึ้น ทำลายสงฆ์ให้แตกกัน ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม พูดเท็จ ดื่มน้ำเมา
  2. กรรมขาวมีวิบากขาว ได้แก่ บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมปรุงแต่งกาย วาจา ใจ อันมีไม่ความเบียดเบียนบุคคลอื่น ย่อมได้เสวยเวทนาที่ไม่มีความเบียดเบียน เป็นสุขโดยส่วนเดียว เช่น เป็นผู้งดเว้นจากการฆ่าสัตว์ จากการลักทรัพย์ จากการประพฤติผิดในกาม จากการพูดเท็จ จากการพูดส่อเสียด จากการพูดคำหยาบ จากการพูดเพ้อเจ้อ ไม่มากไปด้วยความเพ่งเล็งอยากได้ มีจิตไม่พยาบาท มีความเห็นชอบ
  3. กรรมทั้งดำทั้งขาวมีวิบากทั้งดำทั้งขาว ได้แก่ บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมปรุงแต่งกาย วาจา ใจ อันมีความเบียดเบียนบุคคลอื่นบ้าง ไม่ความเบียดเบียนบุคคลอื่นบ้าง ย่อมได้เสวยเวทนาที่มีความเบียดเบียนบ้าง ไม่ความเบียดเบียนบ้าง มีทั้งสุขและทั้งทุกข์ระคนกัน
  4. กรรมไม่ดำไม่ขาวมีวิบากไม่ดำไม่ขาว ได้แก่ เจตนาใดเพื่อละกรรมดำอันมีวิบากดำ เจตนาใดเพื่อละกรรมขาวอันมีวิบากขาว และเจตนาใดเพื่อละกรรมทั้งดำทั้งขาวมีวิบากทั้งดำทั้งขาว ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นกรรม เช่น ผู้ปฏิบัติตามมรรคมีองค์แปด โพชฌงค์เจ็ด

กฎ แห่งกรรม




กฎ แห่งกรรม บันทึก ว่าอ่านทุกหัวข้อแล้ว
ผู้ดูแล: Admin2
ผู้ที่ online 9 คน :: สมาชิก 0 คน, ซ่อน 0 คน และ 9 ผู้เยี่ยมชม
สร้างหัวข้อใหม่
ลำดับที่ หัวข้อ ผู้ตั้ง ตอบ อ่าน ตอบล่าสุด
ไม่มีข้อความใหม่
4441
ประกาศ:: ดาวน์โหลดหนังสือ “กฎแห่งกรรม” (หลวงพ่อจรัญ)
[ ไปที่หน้าไปที่หน้า: 1, 2 ]
admin 26 40353
ดูข้อความล่าสุด suvitjak
16 มิ.ย.2008, 4:30 pm
ไม่มีข้อความใหม่
3437
ตรึง: สิ่งที่จิตระลึกถึงก่อนตายมี ๓ ชนิด
poivang 17 25121
ดูข้อความล่าสุด aprilsnow
21 ก.ย. 2008, 3:52 pm
ไม่มีข้อความใหม่
2473
ตรึง: ชีวิตหลังความตาย...กับข้อพิสูจน์เรื่อง “ผี” และ “เทวดา”
[ ไปที่หน้าไปที่หน้า: 1, 2 ]
สาย ลม 23 37661
ดูข้อความล่าสุด บุญ ชัย
15 ก.ย. 2008, 8:50 am
ไม่มีข้อความใหม่
15589
ตรึง: ตกลงกรรมมีจริงๆ หรือ?
[ ไปที่หน้าไปที่หน้า: 1, 2 ]
sassy 26 15460
ดูข้อความล่าสุด อิ ชิคาว่า
12 ก.ย. 2008, 4:16 pm
ไม่มีข้อความใหม่
13273
ตรึง: ใครเป็นคนกำหนดเรื่องกรรม ?
[ ไปที่หน้าไปที่หน้า: 1, 2 ]
pal_bh 20 13194
ดูข้อความล่าสุด อิทธิ กร
01 ก.ย. 2008, 10:30 am
ไม่มีข้อความใหม่
960
ตรึง: กะเทาะชีวิตแม่ชีทศพร ผู้หยั่งรู้ “เกิดแต่กรรม” !!
[ ไปที่หน้าไปที่หน้า: 1 ... 3, 4, 5 ]
สาย ลม 94 98940
ดูข้อความล่าสุด บัว หิมะ
24 ส.ค. 2008, 2:36 pm
ไม่มีข้อความใหม่
2732
ตรึง: กรรมฐานแก้กรรมได้อย่างไร ? (หลวงพ่อจรัญ)
ลูกโป่ง 19 43088
ดูข้อความล่าสุด บัว หิมะ
16 ส.ค. 2008, 12:24 pm
ไม่มีข้อความใหม่
176
ตรึง: ผิดศีลข้อ 3
[ ไปที่หน้าไปที่หน้า: 1, 2, 3 ]
๛ สายลม ๛ 48 51919
ดูข้อความล่าสุด manio
15 ก.ค.2008, 10:27 pm
ไม่มีข้อความใหม่
520
ตรึง: ทำไม...พ่อแม่ทอดทิ้งลูก ?
[ ไปที่หน้าไปที่หน้า: 1, 2 ]
๛ สายลม ๛ 20 27163
ดูข้อความล่าสุด JIRA
04 ก.ย. 2007, 11:33 am
ไม่มีข้อความใหม่
1524
สัมภาษณ์พิเศษ แม่ชีทศพร ชัยประคอง ผู้มีตาทิพย์
[ ไปที่หน้าไปที่หน้า: 1, 2 ]
สาย ลม 27 66739
ดูข้อความล่าสุด บุญ ชัย
14 ต.ค.2008, 2:43 pm
ไม่มีข้อความใหม่
18347
กฎแห่งกรรมในพระไตรปิฎก : ครึ่งคน ครึ่งเปรต
ใบ โพธิ์ 2 10699
ดูข้อความล่าสุด ผ้า ขี้ริ้ว
13 ต.ค.2008, 10:14 pm
ไม่มีข้อความใหม่
17386
ผีอำ !!
สาย ลม 14 12041
ดูข้อความล่าสุด บุญ ชัย
13 ต.ค.2008, 9:19 am
ไม่มีข้อความใหม่
18162
ทำกรรมกับแมงปอ
maw 2 6966
ดูข้อความล่าสุด อิ ชิคาว่า
09 ต.ค.2008, 2:06 pm
ไม่มีข้อความใหม่
17929
สงสัยมานานแล้วค่ะ
aprilsnow 5 6789
ดูข้อความล่าสุด บุญ ชัย
09 ต.ค.2008, 8:32 am
ไม่มีข้อความใหม่
18004
เป็นเพราะกรรมอะไร
adinaw 4 5591
ดูข้อความล่าสุด riny
08 ต.ค.2008, 3:06 pm
ไม่มีข้อความใหม่
18009
...รอดตายได้เพราะบารมีหลวงพ่อจรัญ...(รัมภา กลิ่นรอด)
ลูกโป่ง 4 7325
ดูข้อความล่าสุด จักร วัฏ
07 ต.ค.2008, 10:41 am
ไม่มีข้อความใหม่
18237
ทรชนคนบาป
ผ้า ขี้ริ้ว 1 3896
ดูข้อความล่าสุด ฌาณ
03 ต.ค.2008, 8:28 pm
ไม่มีข้อความใหม่
18238
บั้นปลายของวายร้าย
ผ้า ขี้ริ้ว 1 3388
ดูข้อความล่าสุด ฌาณ
03 ต.ค.2008, 8:28 pm
ไม่มีข้อความใหม่
18239
ปลาเป็นเหตุ
ผ้า ขี้ริ้ว 1 4324
ดูข้อความล่าสุด ฌาณ
03 ต.ค.2008, 8:27 pm
ไม่มีข้อความใหม่
18169
คนที่คิดระแวง/ริษยาคนอื่น ทำทุกวิธีไม่ให้คนอื่นได้ดีกว่าตน
พิ จิก 1 4337
ดูข้อความล่าสุด มุทิตา ภาวนา
30 ก.ย. 2008, 8:56 am
ไม่มีข้อความใหม่
337
วิญญาณกตัญญู (ท.เลียงพิบูลย์)
new 8 11253
ดูข้อความล่าสุด ฌาณ
25 ก.ย. 2008, 9:31 pm
ไม่มีข้อความใหม่
259
ผลแห่งความเมตตากรุณา (ท.เลียงพิบูลย์)
new 6 12251
ดูข้อความล่าสุด ฌาณ
25 ก.ย. 2008, 9:30 pm
ไม่มีข้อความใหม่
17730
กรรมนิมิต-คตินิมิต (หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี)
ใบ โพธิ์ 4 3936
ดูข้อความล่าสุด ฌาณ
25 ก.ย. 2008, 9:30 pm
ไม่มีข้อความใหม่
17690
กฎแห่งกรรม...ผู้ล่วงเกิน
ลูกโป่ง 4 4923
ดูข้อความล่าสุด ฌาณ
25 ก.ย. 2008, 9:30 pm
ไม่มีข้อความใหม่
18090
...กรรมฐานคือกิจวัตรประจำวัน...(ธนรัตน์ เลปนานนท์)
ลูกโป่ง 1 3438
ดูข้อความล่าสุด ฌาณ
25 ก.ย. 2008, 9:29 pm
ไม่มีข้อความใหม่
18064
ภาพลงโทษคนทำชั่วใน "นรก"
สาย ลม 2 4990
ดูข้อความล่าสุด ฌาณ
25 ก.ย. 2008, 9:29 pm
ไม่มีข้อความใหม่
18091
...กรรมฐานช่วยคุณแม่ได้...(เกื้อกูล สุขปิติ)
ลูกโป่ง 1 3020
ดูข้อความล่าสุด ฌาณ
25 ก.ย. 2008, 9:28 pm
ไม่มีข้อความใหม่
18010
..ทางโลก..กับ..ทางธรรม..นำชีวิตเราไปคนละทางจริงหรือ
ลูกโป่ง 1 3307
ดูข้อความล่าสุด ฌาณ
23 ก.ย. 2008, 9:56 pm
ไม่มีข้อความใหม่
16761
เข้าไปโหลดดูน่ะครับ ตายเกิดหรือว่าตายสูญ
Lokudtradham 5 4069
ดูข้อความล่าสุด บุญ ชัย
23 ก.ย. 2008, 8:49 am
ไม่มีข้อความใหม่
14939
...กรรมที่ทำกับแมว...
ลูกโป่ง 4 5438
ดูข้อความล่าสุด aprilsnow
21 ก.ย. 2008, 4:49 pm
ไม่มีข้อความใหม่
11203
โกหกแบบนี้บาปมากไหมคะ
บ่วง กรรม 8 5802
ดูข้อความล่าสุด aprilsnow
21 ก.ย. 2008, 4:13 pm
ไม่มีข้อความใหม่
15854
อุปสรรคปัญหาที่เกิดใกล้ตัวเป็นเพราะกรรมดังนี้
poivang 4 4417
ดูข้อความล่าสุด aprilsnow
21 ก.ย. 2008, 4:08 pm
ไม่มีข้อความใหม่
14931
...ภาพนิมิตที่สวนสามพราน...(หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม)
ลูกโป่ง 15 6266
ดูข้อความล่าสุด aprilsnow
21 ก.ย. 2008, 4:04 pm
ไม่มีข้อความใหม่
1038
ชีวิตผมดีขึ้นเพราะกรรมฐาน (เทอดศักดิ์ นาไชยธง)
สาย ลม 18 13624
ดูข้อความล่าสุด aprilsnow
21 ก.ย. 2008, 4:01 pm
ไม่มีข้อความใหม่
11556
อยากรู้ว่ากฎแห่งกรรมมีจริงหรือไม่
คน เชือก 5 3869
ดูข้อความล่าสุด ฌาณ
20 ก.ย. 2008, 11:53 pm
ไม่มีข้อความใหม่
1868
บุพกรรมของคน ๓ คน : หลวงพ่อฤาษีลิงดำ
เอา มาฝาก 5 7249
ดูข้อความล่าสุด ฌาณ
20 ก.ย. 2008, 11:53 pm
ไม่มีข้อความใหม่
16297
เราจะรู้ได้ไงว่านี้เป็นกรรมเก่า หรือกรรมใหม่
ปี โป้ 9 7444
ดูข้อความล่าสุด ฌาณ
20 ก.ย. 2008, 11:52 pm
ไม่มีข้อความใหม่
236
คนเลว
แมว แมว 7 5126
ดูข้อความล่าสุด ฌาณ
20 ก.ย. 2008, 11:52 pm
ไม่มีข้อความใหม่
14330
The Karma
Namfon 3 3883
ดูข้อความล่าสุด ฌาณ
20 ก.ย. 2008, 11:51 pm
ไม่มีข้อความใหม่
208
กรรมเพราะไร้คุณธรรม
ผู้ เยี่ยมชม 3 4909
ดูข้อความล่าสุด ฌาณ
20 ก.ย. 2008, 11:51 pm
ไม่มีข้อความใหม่
16346
...เกิดเป็นเปรตกินอุจจาระเพราะปากเสีย...(มาลาวชิโร)
ลูกโป่ง 3 3750
ดูข้อความล่าสุด ฌาณ
20 ก.ย. 2008, 11:51 pm
ไม่มีข้อความใหม่
13864
คาถารักษาโรคกรรม
ดิตถก ร 8 8962
ดูข้อความล่าสุด อิ ชิคาว่า
20 ก.ย. 2008, 12:28 pm
ไม่มีข้อความใหม่
17761
ขอคำเเนะนำ
อนุชา สาระคำ 4 3284
ดูข้อความล่าสุด ฌาณ
19 ก.ย. 2008, 8:56 pm
ไม่มีข้อความใหม่
17789
กฎแห่งกรรมกับความเป็นธรรม (พระไพศาล วิสาโล)
ใบ โพธิ์ 1 3939
ดูข้อความล่าสุด ฌาณ
19 ก.ย. 2008, 8:25 pm
ไม่มีข้อความใหม่
1442
ตอน...ไส้ไหลเพราะแมลงปอ
สาย ลม 9 6409
ดูข้อความล่าสุด ฌาณ
19 ก.ย. 2008, 8:24 pm
ไม่มีข้อความใหม่
16825
คลิปนรก-สวรรค์ค่ะ
กตัญญุตา 8 7080
ไม่มีข้อความใหม่
14907
สร้างกรรมไว้กับหมา
น้อม 7 5223
ดูข้อความล่าสุด อิ ชิคาว่า
17 ก.ย. 2008, 5:34 pm
ไม่มีข้อความใหม่
15167
การตัดกรรมตัดเวร (หลวงพ่อพุธ ฐานิโย)
poivang 6 8629
ดูข้อความล่าสุด EQUANIMITY
17 ก.ย. 2008, 2:36 pm
ไม่มีข้อความใหม่
13719
ทำไมทำดีแล้วจึงไม่ได้ดี : สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)
poivang 5 12083
ดูข้อความล่าสุด darkwing789
17 ก.ย. 2008, 12:04 pm
ไม่มีข้อความใหม่
17607
กฎแห่งกรรมในพระไตรปิฎก
ใบ โพธิ์ 3 4741
ดูข้อความล่าสุด บัว หิมะ
17 ก.ย. 2008, 9:30 am
ไม่มีข้อความใหม่
17728
โลกหนอ
อิ ชิคาว่า 3 3091
ดูข้อความล่าสุด อิ ชิคาว่า
14 ก.ย. 2008, 11:16 am
แสดงเฉพาะหัวข้อในระยะเวลา:   
สร้างหัวข้อใหม่
 


 

 

Diese Webseite wurde kostenlos mit Homepage-Baukasten.de erstellt. Willst du auch eine eigene Webseite?
Gratis anmelden