yafa Maiquang ทำเว็บ
เวียนว่ายตายเกิด และ กฏแห่งกรรมมีจริง - Karaoke
  พุทธประวัติ
  พระอรหันต์
  พระอริยบุคคล
  พระไตรปิฎก
  ศาสนาในโลก
  หน้าแรก
  ศาสนาพุทธ
  ภิกษุ-สมณะ
  การปกครองสงฆ์ไทย
  พระศรีอาริย์โพธิสัตว์
  15.2 พิธีกรรมประจำชีวิต
  17 ประวัติองค์พุทธทั้งห้า
  18 อภิญญา
  19 กฎแห่งกรรม
  19.1 กฏแห่งกรรม
  20 แก้ กรรมเก่า
  20.1 เวร
  21 วิบากกรรม
  22 ผลกรรมเมื่อผิดศีล 5
  23 ลดกรรม 45
  24.1 คู่กรรม คู่บารมี
  27 กรรมชั่ว
  28 กรรมฆ่าตัวตาย
  29 กรรมให้ผลอย่างไร ?
  29.1 เหตุให้กะเทย
  29.2 อาถรรพ์สวาท
  31 กรรมเก่ากรรมใหม่
  32 แก้กรรมด้วยตนเอง
  33 กุศลกรรม 10 ประการ
  34 อกุศลกรรม 10
  34.1 กิเลส1500ตัณหา108
  35 ความตาย
  36 เยี่ยมเมืองนรก
  38 โอปปาติกะ
  40 พญามัจจุราช
  43 ตายจะไปเกิดที่ไหน
  45 นรก
  46 สวรรค์
  คนเหนือดวง
  50 บุญ
  52 บำเพ็ญ วิปัสนา
  53 ปฏิบัติกรรมฐาน
  55 ไตรลักษณ์
  56 ฌาน 4 กับ ญาณ 16
  58 อสุภกรรมฐาน
  59 วิธีเจริญภาวนา, จิต
  60 วิริยบารมี ,ปัญญา
  63 มโนมยิทธิ
  65 วิปัสสนูปกิเลส
  67 บทความธรรมะ
  68 เห็น ศีล สมาธิ ปัญญา
  69 ศีล 5 . 8 .10. 227
  ศีล 5 แบบละอียด
  69.2 อานิสงส์ รักษาศีล5
  69.3 ศีล พระธุดงค์
  70 มงคลสูตร ๑๐
  72 อานาปานสติ
  73 มงคลสูตร
  74 มงคล ๓๘
  75 พฺรหฺมจริยญฺจ
  76 มรรคมีองค์ 8
  76.1 สังโยชน์ ๑๐
  77 สติปัฎฐาน ๔
  79 ปฏิจจสมุปบาท
  80 วิชชาจรณสัมปันโน
  จิตประภัสสร
  83 ฟัง พระโชดกญาณ
  83.1 ฟัง หลวงพ่อโชดก1
  85 ฟัง หลวงพ่อพุธฐานิโย
  86 ฟัง หลวงพ่อจรัญ
  88 ฟัง พระพรหมคุณา
  90 ฟัง สมภพโชติปัญโญ
  94 เกิดมาทำไม
  95 ติดต่อโลกวิญญาณ
  96 พุทธศาสนสุภาษิต
  97 ร้อยผกา
  98 เปรียบศาสนา
  99 เตือนสติผู้ปฏิบัติ
  99.1 พระดูหมอผจญมาร
  101 เคล็ดลับ
  102 เพื่อหนีบาป
  103 บริจาคเลือด
  104 ขยะในใจ
  105 วิวาห์ ทารุณ
  107 วิธีช่วยคนใกล้ตาย
  109 การประเคน
  110 การจุดธูปบูชา
  111 การแผ่เมตตา
  112 วิธีใช้หนี้พ่อแม่
  113 คุณบิดา-มารดา
  114 วิธีกราบ
  115 อธิษฐาน
  106 แด่เธอผู้มาใหม่
  116 แขวนพระเพื่ออะไร
  117 เลือกเกิดได้จริง
  118 ทำนายฝัน
  119 พระเจ้าทำนายฝัน
  120 เสียงธรรมะ
  121 โอวาท เสียงธรรม
  122 สัตว์ไปตามกรรม
  123 นิทานธรรมะ
  124 ฟังเสียง หนังสือ
  124.1 ฟัง นิทานอีสป
  125 ละครเสียงอิงธรรม
  126 เสียง อ่านหนังสือ
  126.1 เสียง ทางสายเอก
  127 หนังสือธรรมะ
  128 ฟังบทสวดมนต์
  129 เทศน์มหาชาติ
  130 เพลงสร้างสรรค์
  131 สารบัญคำสอน
  เรื่องจริงอิงนิทาน ลี้ลับ
  แนะวิธีหนีนรกแบบง่ายๆ
  ,
  แนะนำ วิธีป้องกัน โรค
  F 1 บำบัดความเครียด
  F 2 ความวิตกกังวล
  F 3 วิธีรักษา โรคต่างๆ
  F 4 ตรวจสุขภาพผู้หญิง
  F 5 มะเร็ง
  F 6 ทำแท้งเถื่อน
  F 7 เป็นภูมิแพ้
  F 8 การช่วยชีวิตฉุกเฉิน
  F 9 ช่วยเหลือผู้จมน้ำ
  .
  ข่าว บันเทิง
  M 1 ดูทีวีออนไลน์
  M 2 ฟังวิทยุ
  M 3 หนังสือพิมพ์วันนี้
  M 4 หอ มรดกไทย
  M 5 มรดกไทย
  M 6 ที่สุดของโลก
  M7 เรื่องน่ารู้
  M 9 ตอบ-อ่าน
  M 10 ดูดวง..
  M 11 ฮวงจุ้ย จีน
  ..
  ค้นหา ข้อมูลช่วยเหลือ
  S 1 ท่องเที่ยวไทย
  S 2 Airway
  S 2.1 สถานีขนส่ง - Bahn
  S 2.2 GPS
  S 3 อากาศไทย
  S 4 เวลา อากาศ โลก
  S 5 กงสุลใหญ่
  S 6 เว็บไซต์สำคัญ
  S 7 วัดไทยในต่างแดน
  S 8 ราคาเงินยูโรวันนี้
  S 9 ราคาทองคำวันนี้
  S 10 แปล 35 ภาษาไทย
  S 11 บอกบุญ ทำบุญ
  *
  D 1 Informationen Thailand
  D 2 Buddha
  D 3 Thai Reise
  D 4 Super foto
  D 5 Logo
  ...
  Z 1 Clip คำขัน
  Z 2 Clip นิทานธรรมะ
  Z 3 Clip อัศจรรย์
  Z 4 Clip เรื่องจริง
  30 กรรมลิขิต Clip
  Z 5 Clip บาป-บุญ
  Z 6 Clip หนัง Kino
  แนะนำติชม
  Meditation
  Free Thamma CD
  Titel der neuen Seite
  ธรรมที่อุปการะสมาธิ
  การใช้ชีวิตคู่
  เกมส์คุณหนู
  เว็บพระพุทธศาสน
  กรรมฐานแก้กรรม
  "สุข" แม้ในยาม เศร้า
  เกมส์คุณหนู 1
  Karaoke
  ค่าน้ำนม
  เสียงอ่านพระไตรปิฎก
  logo1
  ศูนย์พิทักษ์ศาสนา
  รวมบทความธรรมะ
  ตัณหา
  การ ทำสมาธิ
  จิต
  เอตทัคบุคคล
  ทุกขัง
  ปาติโมกข์
  3eite
  koon
  koon1
  หนังสือธรรมะ
  Pali Buddha Sprache
  Dhamma Lehrer
  Albert Einstein
  Doeawlöd
  ลุงบุญมีระลึกชาติ
  visak
  คำปลง
บทสวดพระธรรมจักรกัปปวัตตนสูตร.ogg (ฟัง)

เอวัมเม สุตัง
( อันข้าพเจ้า (คือพระอานนท์เถระ) ได้สดับมาอย่างนี้ )
เอกัง สะมะยัง ภะคะวา
( สมัยหนึ่ง สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า )
สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน, อนาถะปิณฑิกะ อาราเม
( ประทับอยู่ที่เชตวันวิหาร อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกล้เมืองสาวัตถี )
อะถะ โข อัญญะตะรา เทวะตา
( ครั้งนั้นแล เทวดาองค์ใดองค์หนึ่ง )
อะภิกกันตายะ รัตติยา อะภิกกันตะวัณณา
( ครั้งเมื่อราตรีปฐมยามล่วงไปแล้ว มีรัศมีอันงามยิ่งยิ่งนัก )
เกวะละปัปปัง เชตะวะนัง โอภาเสตวา ( ยังเชตวันทั้งสิ้น ให้สว่าง )
เยนะ ภะคะวา เตนุปะสังกะมิ
( พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ ที่ใด ก็เข้าไปเฝ้า ณ ที่นั้น )
อุปะสังกะมิตวา ภะคะวันตัง อภิวาเทตวา
( ครั้นเข้าไปเฝ้าแล้ว จึงถวายอภิวาท พระผู้มีพระภาคแล้ว )
เอกะมันตัง อัฏฐาสิ
( ได้ยืนอยู่ในที่สมควรแห่งหนึ่ง )
เอกะมันตัง ฐิตา โข สา เทวตา
( ครั้นเทวดานั้น ได้ยืนในที่สมควรแห่งหนึ่งแล้ว แล )
ภะคะวันตัง คาถายะ อัชฌะภาสิ
( ได้ทูลพระผู้มีพระภาคเจ้า ด้วยคาถาว่า )
พะหู เทวา มะนุสสา จะ
( หมู่เทวดาและมนุษย์เป็นอันมาก )
มังคะลานิ อะจินตะยุง อากังขะมานา โสตถานัง
( ผู้หวังความสวัสดี ได้คิดหามงคลทั้งหลาย )
พรูหิ มังคะละมุตตะมัง
( ขอพระองค์จงเทศนา มงคลอันสูงสุด )
อะเสวะนา จะ พาลานัง ปัณฑิตานัญจะ เสวะนา
( พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า การไม่คบคนพาลทั้งหลาย ๑ การคบคบบัณฑิตทั้งหลาย ๑ )
ปูชา จะ ปูชะนียานัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
( การบูชาชนที่ควรบูชาทั้งหลาย ๑ ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด )
ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ ปุเพ จะ กะตะปุญญะตา
( การอยู่ในประเทศอันสมควร ๑ การเป็นผู้มีบุญอันทำแล้วในกาลก่อน ๑ )
อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
( การตั้งตนไว้ชอบ ๑ ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด )
พาหุสัจจัญจะ สิปปัญจะ วินะโย จะ สุสิกขิโต
( การเป็นผู้ฟังมาก ๑ ศิลปะ๑ วินัยอันชนศึกษาดีแล้ว ๑ )
สุภาสิตา จะ ยา วาจา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
( วาจาอันชนกล่าวดีแล้ว ๑ ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด )
มาตาปิตุอุปัฏฐานัง ปุตตะทารัสสะ สังคะโห
( การบำรุงมารดาบิดา ๑ การสงเคราะห์บุตรและภรรยา ๑ )
อะนากุลา จะ กัมมันตา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
( การงานทั้งหลายที่ไม่อากูล ๑ ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด )
ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ ญาตะกานัญจะ สังคะโห
( การให้ ๑ การประพฤติธรรม ๑ การสงเคราะห์ญาติทั้งหลาย ๑ )
อะนะวัชชานิ กัมมานิ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
( การกระทำทั้งหลายไม่มีโทษ ๑ ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด )
อาระตี วิระตี ปาปา มัชชะปานา จะ สัญญะโม
( การงดเว้นจากบาป ๑ การสำรวมจากการดื่มน้ำเมา ๑ )
อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
( การไม่ประมาทในธรรมทั้งหลาย ๑ ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด )
คาระโว จะ นิวาโต จะ สันตุฏฐี จะ กะตัญญุตา
( การเคารพ ๑ การไม่จองหอง ๑ การยินดีในของที่มีอยู่ ๑ การเป็นคนกตัญญู๑ )
กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
( การฟังธรรมตามกาล ๑ ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด )
ขันตี จะ โสวะจัสสะตา สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง
( ความอดทน ๑ การเป็นคนว่าง่าย ๑ การเห็นสมณะทั้งหลาย ๑ )
กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
( การเจรจาธรรมโดยกาล ๑ ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด )
ตะโป จะ พรัหมะจะริยัญจะ อะริยะสัจจานะ ทัสสะนัง
( ความเพียรเผากิเลส ๑ การประพฤติอย่างพรหม ๑ การเห็นอริยสัจทั้งหลาย ๑ )
นิพพานะสัจฉิกิริยา จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
( การทำพระนิพพานให้แจ้ง ๑ ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด )
ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมหิ จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ
( จิตของผู้ใด อันโลกธรรมถูกต้องแล้ว ย่อมไม่หวั่นไหว )
อะโสกัง วิระชัง เขมัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
( ไม่มีโศก ปราศจากธุลี เกษม ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด )
เอตาทิสานิ กัตวานะ สัพพัตถะมะปะราชิตา
( เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย กระทำมงคลทั้งหลายเช่นนี้แล้ว เป็นผู้ไม่พ่ายแพ้ในที่ทั้งปวง)
สัพพัตถะ โสตถิง คัจฉันติ ตันเตสัง มังคะละมุตตะมันติ ฯ
( ย่อมถึงความสวัสดีในที่ทั้งปวง ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด ของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เหล่านั้น แล ฯ )

Cquote1.svg

...ภิกษุทั้งหลาย ทุกขอริยสัจ คือ ความจริงที่ช่วยมนุษย์ให้เป็นผู้ประเสริฐเกี่ยวกับการพิจารณาเห็นทุกข์ เป็นอย่างนี้ คือ การเข้าใจว่า "เกิด แก่ เจ็บ ตาย" ล้วนแต่ เป็นทุกข์ แม้แต่ความโศรกเศร้าเสียใจ ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กายทุกข์ใจ ทั้งความคับแค้นใจก็เป็นทุกข์ ประสบกับสิ่งที่ไม่เป็นที่รักก็เป็นทุกข์ พลัดพรากจากสิ่งที่เป็นที่รักก็เป็นทุกข์ ปรารถนาสิ่งใด ไม่ได้สิ่งนั้นก็เป็นทุกข์ ว่าโดยย่อ การยึดมั่นแบบฝังใจ ว่า เบญจขันธ์ (คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ) ว่าเป็น อัตตา เป็นตัวเรา เป็นเหตุทำให้เกิดความทุกข์แท้จริง

ภิกษุทั้งหลาย เหตุทำให้เกิดความทุกข์ (สมุหทัย) มีอย่างนี้ คือ ความอยากเกินควร ที่เรียกว่า ทะยานอยาก ทำให้ต้องเวียนว่ายตายเกิด เป็นไปด้วยความกำหนัด ด้วยอำนาจความเพลิดเพลิน มัวเพลิดเพลินอย่างหลงระเริงในสิ่งที่ก่อให้เกิดความกำหนัดรักใคร่นั้นๆ ได้แก่

  1. ความทะยานอยากในสิ่งที่ก่อให้เกิดความใคร่
  2. ความทะยานอยากในความอยากเป็นนั่นอยากเป็นนี่
  3. ความทะยานอยากในความที่จะพ้นจากภาวะที่ไม่อยากเป็๋น เช่น ไม่อยากจะเป็นคนไร้เกียรติ ไร้ยศ เป็นต้น อยากจะดับสูญไปเลย ถ้าไม่ได้เป็นอย่างนั้น อย่างนี้

ภิกษุทั้งหลาย นิโรธ คือ ความดับทุกข์อย่างแท้จริง คือ ดับความกำหนัดอย่างสิ้นเชิง มิให้ตัณหาเหลือยู่ สละตัณหา ปล่อยวางตัณหาข้ามพ้นจากตัณหา ไม่มีเยื่อใยในตัณหา

ภิกษุทั้งหลาย ทุกขโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ คือ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์อย่างแท้จริง คือ อริยมรรคมีองค์ 8 ได้แก่ (1) ความเห็นชอบ (2) ความดำริชอบ (3) วาจาชอบ (4) การงานชอบ (5) เลี้ยงชีวิตชอบ (6) ความเพียรชอบ (7) ความระลึกชอบ (8) ความตั้งจิตมั่นชอบ...

Cquote2.svg
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร

กล่าวโดยสรุป ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร แสดงถึง

  • ส่วนที่สุดสองอย่าง ที่พระพุทธศาสนาปฏิเสธ อันได้แก่ "กามสุขัลลิกานุโยค" (หวังสบายเกิน ไม่ทำอะไร มัวอ้อนวอนพระเจ้า พึ่งหวังสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หวังเสวยสุขโดยส่วนเดียว) และ "อัตตกิลมถานุโยค" คือการปฏิบัติตนเพื่อพ้นทุกข์โดยลำบากเกินไปโดยปล่าวประโยชน์
  • มัชฌิมาปฏิปา คือปฏิปทาทางสายกลางที่พระพุทธองค์ได้ทรงตรัสรู้ ได้แก่ มรรคมีองค์แปด
  • อริยสัจสี่ คือธรรมที่เป็นความจริงอันประเสริฐสี่ประการ

 ส่วนที่สุดสองอย่าง

ส่วนที่สุดสองอย่างอันบรรพชิตไม่ควรเสพ คือ

  • การประกอบตนให้พัวพันด้วยกามสุขในกามทั้งหลาย เป็นธรรมอันเลว เป็นของชาวบ้านเป็นของปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์
  • การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตน (เช่น บำเพ็ญทุกรกิริยา) เป็นความลำบาก ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์

 ปฏิปทาทางสายกลาง

ปฏิปทาสายกลาง ไม่เข้าไปใกล้ที่สุดสองอย่างนั้น ที่พระพุทธองค์ได้ทรงตรัสรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง ทำญาณให้เกิด ย่อมเป็นไปเพื่อความสงบเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน

ปฏิปทาสายกลางนั้น ได้แก่อริยมรรคมีองค์แปด คือ

อริยสัจสี่

อริยสัจสี่ ธรรมที่เป็นความจริงอันประเสริฐสี่ประการคือ

  • ทุกขอริยสัจ คือ ความเกิดก็เป็นทุกข์ ความแก่ก็เป็นทุกข์ ความเจ็บไข้ก็เป็นทุกข์ ความตายก็เป็นทุกข์ ความประจวบด้วยสิ่งที่ไม่เป็นที่รัก ก็เป็นทุกข์ ความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รัก ก็เป็นทุกข์ ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้น ก็เป็นทุกข์ โดยย่นย่อ อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นทุกข์
  • ทุกขสมุทัยอริยสัจ คือ ตัณหา ประกอบด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิน มีปกติเพลิดเพลินในอารมณ์นั้นๆ คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา
  • ทุกขนิโรธอริยสัจ คือ ตัณหาดับโดยไม่เหลือด้วยมรรค คือวิราคะ สละ สละคืน ปล่อยไป ไม่พัวพัน
  • ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ คือ อริยมรรคมีองค์แปด

อริยสัจสี่นี้

  • ทุกขอริยสัจ ควรกำหนดรู้.
  • ทุกขสมุทัยอริยสัจ ควรละเสีย
  • ทุกขนิโรธอริยสัจ ควรทำให้แจ้ง
  • ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ คือ อริยมรรคมีองค์แปด ควรเจริญ



ฟังเสียงสวดมนต์และเสียงธรรม





ธัมจักกัปปธรรมจักกัปปวัฒนสูตรอินเดีย วัตนสูตร ธรรมจักกัปปวัฒนสูตรอินเดีย  พระพุทธเจ้า
แสดงธรรมจักกัปวัฒนสูตร   คือการหมุนพระธรรมจักรไปข้างหน้าไม่ถอยหลัง ...พระธรรมที่พระพุทธองค์ทรงเทศนาในครั้งนี้มีชื่อว่า "ธรรมจักรกัปปวัฒนสูตร" ... ตำบลอิสิตนะ เมืองพาราณสี ในชมพูทวีปสมัยโบราณซึ่งปัจจุบันตั้งอยู่ในประเทศอินเดีย ... ดังนั้น ธรรมเทศนาที่ทรงแสดงครั้งแรกจึงได้ชื่อว่า ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ...พระบรมศาสดาได้ทรงประกาศธรรม “พระธัมมจักกัปปวัตนสูตร” เป็นครั้งแก่พระปัญจวัคคีย์ ณ ป่าอิสิตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี ทำให้พระอัญญาโกณฑัญญะบังเกิด “ดวงตาเห็น
ธรรม... เริ่มต้นจากชมพูทวีป ประเทศอินเดีย และเนปาล พระธรรมจักร หรือจักรแห่งธรรม
วัดพุทธคยานี้ยังเป็นที่พระพุทธองค์ประทานพุทธานุญาต บวชพระนางมหาชาบดี
โคตรมี ... สถานที่ทรงแสดง ธัมมจักกัปปวัตนสูตร อันเป็นพระธรรมเทศนากัณฑ์แรก ...


อิทัง โข ปะนะ ภิกขุเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สภาวะเหล่านี้แล เป็นตัวทุกข์อย่างแท้จริง คือ

ชาติปิ ทุกขา
ความเกิดก็เป็นทุกข์

ชะราปิ ทุกขา
เมื่อความแก่เข้ามาถึงก็เป็นทุกข์

มะระณัมปิ ทุกขัง
เมื่อความตายเข้ามาถึงก็เป็นทุกข์

อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข
เมื่อประสบกับสิ่งที่ไม่ชอบใจ ก็เป็นทุกข์

ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข
เมื่อพลัดพรากจากสิ่งที่เป็นที่รักที่ชอบใจก็เป็นทุกข์

ยัมปิจฉัง โน ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง
และแม้ปรารถนาสิ่งใด แต่ไม่ได้สิ่งนั้นสมความปรารถนาก็เป็นทุกข์

สังขิตเตนะ ปัญจุปปาทานักขันธา ทุกขา
กล่าวโดยย่อก็คือ การคิดว่าร่างกายเป็นของตัวเรานั่นแล เป็นตัวทำให้ใจเกิดความทุกข์อย่างแท้จริง

อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ยายัง ตัณหา
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ตัณหาคือความอยากไม่มีที่สิ้นสุดที่มีอยู่ในใจนี้แลเป็นต้น เป็นเหตุให้เกิดทุกข์อย่างแท้จริง

โปโนพภะวิกา นันทิราคะสะหะคะตา ตัตระ ตัตราภินันทีนิ เสยยะถีทัง กามะตัณหา
คือมีความอยากเวียนว่ายตายเกิดอยู่ร่ำไป และมีความกำหนัดยินดีในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสที่น่าปรารถนา เป็นเหตุให้ใจเกิดทุกข์

ภะวะตัณหา
สิ่งใดที่ยังไม่มี คิดอยากจะให้มีขึ้นมา อย่างนี้ก็ทำให้ใจเกิดทุกข์

วิภาวะตัณหา
และเมื่อมีทุกอย่างสมความปรารถนแล้ว ก็อยากให้ทุกอย่างคงทนอยู่ตลอดไป
เมื่อมันต้องสลายหายไป ก็ร้อนใจไม่อยากให้เป็นเช่นนั้น อย่างนี้ยิ่งทำให้ใจเกิดทุกข์หนักขึ้นมาอีก

อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรโธ อะริยสัจจัง ฯ โย ตัสสาเยวะ ตัณหายะ
อะเสสะวิราคะนิโรโธ จาโค ปะฏินิสสัคโค มุตติ อะนาละโย

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การดับตัณหาความอยากให้หมดไปจากใจด้วยการละ วาง ปล่อย
และไม่คิดยินดีพัวพันอยู่กับตัณหาความอยากนั้นอีกเด็ดขาด
คือ การดับทุกข์ให้หมดไปจากใจอย่างแท้จริง

อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง
อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค ฯ เสยยะถีทัง ฯ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา
สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ฯ

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อปฏิบัติเพื่อนำกิเลสออกให้หมดไปจากใจนี้ มี ๘ อย่าง คือ
ปัญญาเห็นชอบ ความดำริชอบ วาจาชอบ การงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ความเพียรชอบ การระลึกชอบ และการตั้งจิตไว้ชอบ
คือ ข้อปฏิบัติเพื่อนำใจให้หมดไปจากกิเลส และดับความทุกข์ได้อย่างแท้จริง ฯ



มงคลสูตรอินเดียแปลไทย

ไตรสรณคมน์ ( อินเดีย )

ไตรสรณคมน์องคุลีมาล

 รัตนสูตร อินเดีย

พระรัตนตรัยทำนองภารตะ

ยอดพระกัณฑ์พระไตรปิฎก

คาถาชินบัญชร

เพลงคาถาชินบัญชรแปล

กรณียเมตตสูตร
ทำให้ภูตผีปีศาจไม่มารบกวน

คาถาบูชาดวงชะตา

พาหุงมหากาฯ (พระกับฆราวาส)

คาถาบูชาพระสยามเทวาธิราช ทำให้เกิดสิริมงคลแก่ผ้สวดทุกวัน

แผ่เมตตา (อังกฤษ)

 

มงคลจักวาฬใหญ่


Webmaster Recommended

การฟังเสียงธรรมผ่านอินเตอร์เน็ท
ขอแนะนำให้เปิดด้วย Internet Explorer (IE6+) ครับ

  Pray of the moon - จำรัส เศวตาภรณ์ (เพลงประกอบ)

Diese Webseite wurde kostenlos mit Homepage-Baukasten.de erstellt. Willst du auch eine eigene Webseite?
Gratis anmelden