yafa Maiquang ทำเว็บ
เวียนว่ายตายเกิด และ กฏแห่งกรรมมีจริง - พระอรหันต์
  พุทธประวัติ
  พระอรหันต์
  => พระ ธาตุ
  พระอริยบุคคล
  พระไตรปิฎก
  ศาสนาในโลก
  หน้าแรก
  ศาสนาพุทธ
  ภิกษุ-สมณะ
  การปกครองสงฆ์ไทย
  พระศรีอาริย์โพธิสัตว์
  15.2 พิธีกรรมประจำชีวิต
  17 ประวัติองค์พุทธทั้งห้า
  18 อภิญญา
  19 กฎแห่งกรรม
  19.1 กฏแห่งกรรม
  20 แก้ กรรมเก่า
  20.1 เวร
  21 วิบากกรรม
  22 ผลกรรมเมื่อผิดศีล 5
  23 ลดกรรม 45
  24.1 คู่กรรม คู่บารมี
  27 กรรมชั่ว
  28 กรรมฆ่าตัวตาย
  29 กรรมให้ผลอย่างไร ?
  29.1 เหตุให้กะเทย
  29.2 อาถรรพ์สวาท
  31 กรรมเก่ากรรมใหม่
  32 แก้กรรมด้วยตนเอง
  33 กุศลกรรม 10 ประการ
  34 อกุศลกรรม 10
  34.1 กิเลส1500ตัณหา108
  35 ความตาย
  36 เยี่ยมเมืองนรก
  38 โอปปาติกะ
  40 พญามัจจุราช
  43 ตายจะไปเกิดที่ไหน
  45 นรก
  46 สวรรค์
  คนเหนือดวง
  50 บุญ
  52 บำเพ็ญ วิปัสนา
  53 ปฏิบัติกรรมฐาน
  55 ไตรลักษณ์
  56 ฌาน 4 กับ ญาณ 16
  58 อสุภกรรมฐาน
  59 วิธีเจริญภาวนา, จิต
  60 วิริยบารมี ,ปัญญา
  63 มโนมยิทธิ
  65 วิปัสสนูปกิเลส
  67 บทความธรรมะ
  68 เห็น ศีล สมาธิ ปัญญา
  69 ศีล 5 . 8 .10. 227
  ศีล 5 แบบละอียด
  69.2 อานิสงส์ รักษาศีล5
  69.3 ศีล พระธุดงค์
  70 มงคลสูตร ๑๐
  72 อานาปานสติ
  73 มงคลสูตร
  74 มงคล ๓๘
  75 พฺรหฺมจริยญฺจ
  76 มรรคมีองค์ 8
  76.1 สังโยชน์ ๑๐
  77 สติปัฎฐาน ๔
  79 ปฏิจจสมุปบาท
  80 วิชชาจรณสัมปันโน
  จิตประภัสสร
  83 ฟัง พระโชดกญาณ
  83.1 ฟัง หลวงพ่อโชดก1
  85 ฟัง หลวงพ่อพุธฐานิโย
  86 ฟัง หลวงพ่อจรัญ
  88 ฟัง พระพรหมคุณา
  90 ฟัง สมภพโชติปัญโญ
  94 เกิดมาทำไม
  95 ติดต่อโลกวิญญาณ
  96 พุทธศาสนสุภาษิต
  97 ร้อยผกา
  98 เปรียบศาสนา
  99 เตือนสติผู้ปฏิบัติ
  99.1 พระดูหมอผจญมาร
  101 เคล็ดลับ
  102 เพื่อหนีบาป
  103 บริจาคเลือด
  104 ขยะในใจ
  105 วิวาห์ ทารุณ
  107 วิธีช่วยคนใกล้ตาย
  109 การประเคน
  110 การจุดธูปบูชา
  111 การแผ่เมตตา
  112 วิธีใช้หนี้พ่อแม่
  113 คุณบิดา-มารดา
  114 วิธีกราบ
  115 อธิษฐาน
  106 แด่เธอผู้มาใหม่
  116 แขวนพระเพื่ออะไร
  117 เลือกเกิดได้จริง
  118 ทำนายฝัน
  119 พระเจ้าทำนายฝัน
  120 เสียงธรรมะ
  121 โอวาท เสียงธรรม
  122 สัตว์ไปตามกรรม
  123 นิทานธรรมะ
  124 ฟังเสียง หนังสือ
  124.1 ฟัง นิทานอีสป
  125 ละครเสียงอิงธรรม
  126 เสียง อ่านหนังสือ
  126.1 เสียง ทางสายเอก
  127 หนังสือธรรมะ
  128 ฟังบทสวดมนต์
  129 เทศน์มหาชาติ
  130 เพลงสร้างสรรค์
  131 สารบัญคำสอน
  เรื่องจริงอิงนิทาน ลี้ลับ
  แนะวิธีหนีนรกแบบง่ายๆ
  ,
  แนะนำ วิธีป้องกัน โรค
  F 1 บำบัดความเครียด
  F 2 ความวิตกกังวล
  F 3 วิธีรักษา โรคต่างๆ
  F 4 ตรวจสุขภาพผู้หญิง
  F 5 มะเร็ง
  F 6 ทำแท้งเถื่อน
  F 7 เป็นภูมิแพ้
  F 8 การช่วยชีวิตฉุกเฉิน
  F 9 ช่วยเหลือผู้จมน้ำ
  .
  ข่าว บันเทิง
  M 1 ดูทีวีออนไลน์
  M 2 ฟังวิทยุ
  M 3 หนังสือพิมพ์วันนี้
  M 4 หอ มรดกไทย
  M 5 มรดกไทย
  M 6 ที่สุดของโลก
  M7 เรื่องน่ารู้
  M 9 ตอบ-อ่าน
  M 10 ดูดวง..
  M 11 ฮวงจุ้ย จีน
  ..
  ค้นหา ข้อมูลช่วยเหลือ
  S 1 ท่องเที่ยวไทย
  S 2 Airway
  S 2.1 สถานีขนส่ง - Bahn
  S 2.2 GPS
  S 3 อากาศไทย
  S 4 เวลา อากาศ โลก
  S 5 กงสุลใหญ่
  S 6 เว็บไซต์สำคัญ
  S 7 วัดไทยในต่างแดน
  S 8 ราคาเงินยูโรวันนี้
  S 9 ราคาทองคำวันนี้
  S 10 แปล 35 ภาษาไทย
  S 11 บอกบุญ ทำบุญ
  *
  D 1 Informationen Thailand
  D 2 Buddha
  D 3 Thai Reise
  D 4 Super foto
  D 5 Logo
  ...
  Z 1 Clip คำขัน
  Z 2 Clip นิทานธรรมะ
  Z 3 Clip อัศจรรย์
  Z 4 Clip เรื่องจริง
  30 กรรมลิขิต Clip
  Z 5 Clip บาป-บุญ
  Z 6 Clip หนัง Kino
  แนะนำติชม
  Meditation
  Free Thamma CD
  Titel der neuen Seite
  ธรรมที่อุปการะสมาธิ
  การใช้ชีวิตคู่
  เกมส์คุณหนู
  เว็บพระพุทธศาสน
  กรรมฐานแก้กรรม
  "สุข" แม้ในยาม เศร้า
  เกมส์คุณหนู 1
  Karaoke
  ค่าน้ำนม
  เสียงอ่านพระไตรปิฎก
  logo1
  ศูนย์พิทักษ์ศาสนา
  รวมบทความธรรมะ
  ตัณหา
  การ ทำสมาธิ
  จิต
  เอตทัคบุคคล
  ทุกขัง
  ปาติโมกข์
  3eite
  koon
  koon1
  หนังสือธรรมะ
  Pali Buddha Sprache
  Dhamma Lehrer
  Albert Einstein
  Doeawlöd
  ลุงบุญมีระลึกชาติ
  visak
  คำปลง
 
 
พระบรมสารีริกธาตุ
  ความหมาย ความหมายของคำว่าพระบรมสารีริกธาตุ, พระบรมธาตุ และ พระธาตุ
  ประเภท ประเภทของพระบรมสารีริกธาตุ แบบพระธาตุ - กระดูกคน
  คุณลักษณะ คุณลักษณะต่างๆของพระบรมสารีริกธาตุ
  ลักษณะต่างๆ ลักษณะที่มองได้จากภายนอก จำแนกตามตำรา อรรถกถาสุมังคลวิลาสินี
  พระธาตุลอยน้ำ ลักษณะการลอยน้ำของพระบรมสารีริกธาตุ
ตำนานการเกิด
  ตำนานการเกิด สาเหตุแห่งการเกิดพระบรมสารีริกธาตุ, มหาปรินิพพานสูตร, ตำนานธาตุนิธาน
  สถานที่ประดิษฐาน สถานที่ๆประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุชนิด นวิปปกิณณา ธาตุ
พุทธเจดีย์
  พุทธเจดีย์ ชนิดของพุทธเจดีย์ในพระพุทธศาสนา
  บุคคลที่ควรสร้างสถูป บุคคลที่สมควรแก่การสร้างสถูปไว้บูชา 4 ประเภท
  พระธาตุประจำนักษัตร พระธาตุเจดีย์ประจำปีเกิด 12 นักษัตร
พระธาตุพุทธสาวก
  พระธาตุพุทธสาวก ลักษณะการแบ่งพระพุทธสาวกเป็น 2 ประเภท
  สาวกธาตุพุทธกาล รายพระนามพระอรหันตสาวกสมัยพุทธกาลและหลังพุทธกาล 47 พระองค์ ที่มีบันทึกในตำราพระธาตุ
  สาวกธาตุกึ่งพุทธกาล รายนามพุทธสาวกสมัยปัจจุบันที่พบว่าอัฐิกลายเป็นพระธาตุ พร้อมประวัติและรูปภาพ
บูชาพระธาตุ
  บูชาพระธาตุ วิธีการบูชาพระบรมสารีริกธาตุ และ พระธาตุ
  อัญเชิญพระธาตุ วิธีการอัญเชิญพระธาตุแบบทั่วไป
  บทบูชาพระธาตุ บทบูชาและ/หรืออัญเชิญ พระบรมสารีริกธาตุ และ พระธาตุแบบต่างๆ
  สรงน้ำพระธาตุ วิธีการสรงน้ำพระธาตุ และบทอาราธนาพระธาตุออกสรงน้ำ
พระธาตุปาฏิหาริย์
  พระธาตุปาฏิหาริย์ ปาฏิหาริย์แห่งพระธาตุ
  ลักษณะการเกิด ขั้นตอนและวิธีการเกิดพระธาตุ จากส่วนต่างๆ
  ประสบการณ์พระธาตุ ประสบการณ์พระธาตุของท่านต่างๆตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ภาพถ่ายพระธาตุ
  พระบรมสารีริกธาตุ ภาพพระบรมสารีริกธาตุลักษณะต่างๆ
  สาวกธาตุพุทธกาล ภาพพระธาตุพระอรหันตสาวก 48 พระองค์ พร้อมคำพรรณนาพระธาตุของโบราณ
  สาวกธาตุปัจจุบัน ภาพพระธาตุของพระพุทธสาวกในยุคปัจจุบัน
  วิธีการถ่ายภาพพระธาตุ อุปกรณ์และวิธีการถ่ายภาพพระธาตุอย่างง่าย โดยใช้อุปกรณ์ที่หาได้ทั่วไป และวิธีการส่งไฟล์เพื่ออัดภาพ
บทความน่าสนใจเกี่ยวกับพระธาตุ
  พระธาตุสัณฐานนอกตำรา บทความวิเคราะห์ตำราพระธาตุ เปรียบเทียบตำรากับพระธาตุที่พบในปัจจุบัน [เมื่อ 2/2548]
  ปาฏิหาริย์พระธาตุแท้จริงแล้วสอนอะไร ประสบการณ์นี้เป็นของคุณครูท่านหนึ่งที่ไม่ประสงค์จะออกนาม [เมื่อ 2545]
  พระธาตุเขาสามร้อยยอด-ข้าวบิณฑ์-ห้าร้อยพระอรหันต์ พระธาตุที่มีผู้เคารพนับถือกันมากในปัจจุบัน จากคำบอกเล่าของครูบาวงศ์ [เมื่อ 2550]
พิพิธภัณฑ์พระธาตุ-สถานที่ศึกษา ข้อมูล - แผนที่ - วิธีการเดินทาง และสิ่งที่น่าสนใจ
  วัดกล้วย จ.อยุธยา วัดถ้ำผาจม จ.เชียงราย วัดญาณสังวราราม จ.ชลบุรี
  วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม จ.ราชบุรี ชมรมรักษ์พระธาตุ จ.กรุงเทพฯ บ้านเรือนไทย จ.กรุงเทพฯ
พิพิธภัณฑ์นครจัมปาศรี จ.มหาสารคาม วัดสังฆทาน จ.นนทบุรี
 


พระบรมสารีริกธาตุ  หมาย ถึง อัฐิธาตุ  หรือ กระดูก  ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งพุทธศาสนิกชนนับถือว่าเป็นกายที่ 2 ของพระพุทธองค์  หลังจากที่พระพุทธองค์ได้เสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน เมื่อถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระแล้ว พระบรมสารีริกธาตุถูกแบ่งไปยังรัฐต่าง ๆ 8 รัฐ โดยมีโทณพราหมณ์เป็นผู้แจก  พระบรมสารีริกธาตุที่ถูกแบ่งมี 16 ทะนาน ให้รัฐละ 2 ทะนาน คือ
             1.  รัฐมครธ  ของพระเจ้าอาชาตศัตรู
             2.  รัฐวัชชี  ของกษัตริย์ลิจฉวี
             3.  รัฐสักกะ  ของศักยราช
             4.  นครอัลลกัปปะ  ของโมลิยะกษัตริย์
             5.  นครเอฏฐทีปกะ  ของมหาพราหมณ์เจ้า
             6.  นครปาวา  ของมัลละกษัตริย์ต่างพวก
             7.  นครกุสินารา  ของมัลละกษัตริย์เจ้าถิ่น
             8.  รัฐรามคาม  ของโกสิยะกษัตริย์ 
รัฐ 7 แห่งแรกนั้นอยู่ในเขตอินเดียภาคกลาง ส่วนรัฐสุดท้ายนั้นกล่าวกันว่า อยู่ในเขตพระยานาคภาคเหนือแถบภูเขาหิมาลัย ซึ่งกษัตริย์แต่ละองค์ได้สร้างพระสถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้สักการะบูชา ตราบจนถึงปัจจุบันนี้
          การบูชาพระบรมสารีริกธาตุย่อมส่งอานิสงส์อันยิ่งใหญ่มาสู่ตัวผู้ ปฏิบัติ ทำให้ชีวิตมีความสุขทั้งโลกนี้และโลกหน้า สุขทั้งทางโลกและทางธรรมตลอดชีวิตผู้ปฏิบัติบูชา
ประเภทของพระบรมสารีริกธาตุ
          เนื่องจากพระบรมสารีริกธาตุที่พบนั้น มีความแตกต่างจากอัฐิของบุคคลทั่วไป แต่อย่างไรก็ตามก็ยังพบพระบรมสารีริกธาตุที่มีลักษณะเหมือนกระดูกคนเช่น กัน  เท่าที่พบเห็นตามพระธาตุเจดีย์มั่วไป หรือตามพิพิธภัณฑสถานต่าง ๆ ทั้งในประเทศไทย  ศรีลังกา  อินเดียและประเทศอื่น ๆ ทั่วโลกนั้น สามารถแบ่งพระบรมสารีริกธาตุออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
               ลักษณะที่ 1  พระบรมสารีริกธาตุลักษณะ พระธาตุ  พระบรมสารีริกธาตุชนิดนี้จะพบมากในประเทศไทย  ศรีลังกา  พม่า  จีน ฯลฯ มีลักษณะตรงตามพระไตรปิฎก ในประเทศไทยนั้นมีประดิษฐานอยู่ที่เจดีย์พระธาตุ ตามวัดต่าง ๆ ทั่วไป
               ลักษณะที่ 2  พระบรมสารีริกธาตุลักษณะ กระดูกคน  พระบรมสารีริกธาตุประเภทนี้จะพบมากที่ประเทศอินเดีย ตามโบราณสถานต่าง ๆ สำหรับในประเทศไทยที่มีการขุดค้นพบนั้นรัฐบาลอังกฤษได้มอบให้แก่ประเทศไทย 2 ครั้ง ครั้งแรกในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้ประดิษฐานไว้ ณ วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร  และครั้งที่ 2 รัฐบาลได้อัญเชิญไปประดิษฐาน ณ เจดีย์วัดพระศรีมหาธาตุฯ บางเขน

ลักษณะของพระบรมสารีริกธาตุ และพระอรหันตธาตุ
          ลักษณะของพระบรมสารีริกธาตุจะแตกต่างจากกระดูกของมนุษย์เราหลาย ประการ ที่สามารถเห็นได้อย่างชัดเจนคือ หากมองจากลักษณะภายนอกจะเห็นมีหลากหลายรูปแบบ มีมากมายหลากหลายสี ตั้งแต่ใสดั่งแก้ว จนกระทั่งขุ่น สีขาว สีชมพู สีแดง ฯลฯ ตามอรรถกถาในพระไตรปิฎกนั้นแบ่งพระบรมสารีริกธาตุออกเป็น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ
               1. นวิปปกิณณาธาตุ คือพระบรมสารีริกธาตุที่ยังคงรูปร่างเดิมอยู่เป็นชิ้นอันมิได้แตกย่อยลงไป มีทั้งหมด 7 องค์ได้แก่ พระนลาฏ (กระดูกส่วนหน้าผาก) 1 องค์  พระเขี้ยวแก้ว 4 องค์  และพระรากขวัญ (กระดูกไหปลาร้า)  2 องค์
               2. วิปปกิณณาธาตุ  คือ พระบรมสารีริกธาตุส่วนต่าง ๆ ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่มิได้คงรูปร่างอยู่เป็นชิ้น แต่ได้แตกย่อยลงเป็นจำนวนมากกระจายไปประดิษฐานอยู่ตามสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งพระอรรถกถาจารย์ท่านได้จำแนกลักษณะและขนาดของพระบรมสารีริกธาตุชนิดวิป ปกิณณาธาตุนี้ออกเป็น 3 ลักษณะคือ  
                    2.1  เหมือนดอกมะลิตูม (สีพิกุล)  ท่านว่าตวงได้ 6 ทะนาน
                    2.2  เหมือนแก้วมุกดาที่เจียระไนแล้ว (สีผลึก) ท่านว่าตวงได้ 5 ทะนาน
                    2.3  เหมือนจุณ หรือผงทองคำ (สีทองอุไร)  ท่านว่าตวงได้ 5 ทะนาน
          พระบรมสารีริกธาตุที่ปรากฏในคัมภีร์พุทธวงศ์ของฝ่ายเถรวาท มีทั้งแตกกระจายและไม่ได้แตกกระจาย พระพุทธเจ้าที่มีพระบรมสารีริกธาตุไม่แตกกระจายจะมีข้อความระบุลักษณะของพระ สถูปไว้อย่างชัดเจนกล่าวคือ

เอกลักษณะเฉพาะของพระบรมสารีริกธาตุ
          1.  พระบรมสารีริกธาตุ หรือ พระอรหันธาตุ มีลักษณะแตกต่างจากอัฐิหรือกระดูกของปุถุชนธรรมดาทั่วไป
               ก  มีลักษณะกลม เสี้ยว  ยาวรี เป็นเหลี่ยม หรือมีลักษณะเป็นมันเลื่อม มีสีต่าง ๆ เช่น สีทอง  สีขาว สีงาช้าง  สีแดงเรื่อ ๆ สีหวายตะคร้า  เป็นต้น
               ข  ถ้าแลดูผิวเผินจะมีลักษณะคล้ายก้อนกรวด หรือไข่มุกขนาดเล็กแต่มีน้ำหนักเบากว่ามาก และมักจะรวมตัวเข้าหากัน
               ค  พระบรมสารีริกธาตุ หรือพระอรหันตธาตุ ถ้าเป็นขนาดเล็ก เช่น เมล็ดข้าวสารหัก  เมล็ดพันธุ์ผักกาด  หรือเมล็ดงา ถ้าเป็นของแท้จะเสด็จลอยเหนือน้ำได้อย่างน่าพิศวง
               ง  พระบรมสารีริกธาตุ หรือพระอรหันธาตุ ที่มีขนาดใหญ่กว่าสัณฐานที่กล่าวไว้ในข้อ ค มักจะไม่ลอยน้ำทุกลักษณะที่กล่าวมาแล้ว จะมองดูคล้ายกรวด  หิน แก้ว เพชร ฯลฯ ถ้าไม่สังเกตให้ดี    
          2.  โบราณเชื่อว่า ผู้ใดมีพระธาตุอยู่ในครอบครองแต่ไม่ประดิษฐานไว้ในที่อันเหมาะสม และไม่หมั่นสักการะบูชา พระธาตุจะเสด็จหนีไปที่อื่น ซึ่งพระธาตุมักจะเสด็จมาเองได้ ถ้าประดิษฐานไว้ในที่อันเหมาะสมและหมั่นสักการะบูชาอย่างสม่ำเสมอก็จะพบ ปาฏิหาริย์อย่างน่าอัศจรรย์   
          3.  เชื่อกันว่า พระธาตุเสด็จประทับอยู่ ณ ที่ใด สถานที่หรือผู้ครอบครองนั้นมักจะประสบแต่ความสุข ความเจริญในทุก ๆ ด้าน ถ้าหากว่าผู้ครอบครองนั้นปฏิบัติดูแลรักษา หรือสักการะบูชาอย่างถูกวิธี

พระบรมสารีริกธาตุ
วรรณะสีแก้วมุกดา
พระบรมสารีริกธาตุ
วรรณะสีแก้วใสดุจเพชร
พระบรมสารีริกธาตุ
วรรณะสีแก้วสุก
พระบรมสารีริกธาตุ
หลากสีสันและวรรณะ
พระบรมสารีริกธาตุ
สัณฐานเมล็ดพันธุ์ผักกาด
พระบรมสารีริกธาตุ
สัณฐานเมล็ดข้าวสารหัก
พระบรมสารีริกธาตุ
สัณฐานเมล็ดถั่วแตก
พระบรมสารีริกธาตุ
วรรณะสีทองอุไร
       




พระ ธาตุ หมายถึง อัฐิ (การดูกที่เผาแล้ว) ของพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระอรหันต์ ถ้าเป็นอัฐิของพระพุทธเจ้า เรียกว่า พระบรมสารีริกธาตุ หรือพระบรมธาตุ ถ้าเป็นอัฐิพระอรหันต์ เรียกว่า พระธาตุ แต่โดยทั่วไปแล้วจะเรียกรวม ๆ ว่า พระธาตุ
สำหรับพระธาตุในที่นี้ หมายถึงส่วนสำคัญของพระสถูป หรือพระปรางค์ ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ หรือพระธาตุไว้ภายใน ซึ่งเรียกว่า ธาตุเจดีย์ ซึ่งเป็นหนึ่งในพุทธเจดีย์ทั้งสี่ ซึ่งได้แก่
พระธาตุเจดีย์ เป็นเจดีย์ที่บรรจุพระธาตุ อินเดีย เรียกเจดีย์ประเภทนี้ว่า สรีริกสถูป พระธาตุเจดีย์ รวมถึง เจดีย์ที่บรรจุธาตุของพระอรหันต์สาวกด้วย ถ้าเป็นเจดีย์ที่บรรจุพระธาตุของพระพุทธเจ้า โดยเฉพาะก็จะเรียกว่า พระมหาธาตุ พระบรมธาตุ หรือพระบรมสารีริกธาตุ ถ้าเรียกพระธาตุส่วนหนึ่งส่วนใดของพระพุทธเจ้า โดยเฉพาะก็จะเรียกชื่อตามนั้น เช่น
พระทันตธาตุ หรือพระทาฒธาตุ (ฟัน หรือ เขี้ยวของพระพทุธเจ้า)
พระเกศธาตุ (เส้นพระเศาของพระพุทธเจ้า)
พระอุรังคธาตุ (พระธาตุส่วนที่เป็นกระดูกหน้าอกของพระพุทธเจ้า
บริโภค เจดีย์ เป็นพระเจดีย์ที่บรรจุของใช้ที่เกี่ยวกับเนื่องกับพระพุทธเจ้า ได้แก่ อัฐบริขาร มีบาตรและจีวร เป็นต้น นอกจากนั้นยังรวมไปถึงสถานที่อันเป็นสังเวชนียสถานทั้งสี่ คือ สถานที่ประสูติ (ลุมพินีวัน) ตรัสรู้ (พุทธคยา) แสดงปฐมเทศนา (ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน) และปรินิพพาน (เมืองกุสินารา) รวมพระแท่นที่บรรทมตอนปรินิพพาน อินเดียเรียกเจดีย์ประเภทนี้ว่า ปาริโภคสถูป
พระธรรมเจดีย์ เป็นพระเจดีย์ที่บรรจุ หรือ จารึก พระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า เช่น หอพระไตรปิฎก และส่วนที่เป็นพระไตรปิฎกเอง ไม่ว่าจะจารึกในรูปแบบใด เดิมได้เลือกเอาหัวใจพุทธศาสนา จารึกเป็นตัวอักษร ประดิษฐานไว้สำหรับบูชา มีความว่า " เย ธมฺมา เหตุปปฺภวา เตสํ เหตุ ตถาคโต เตสญฺจ โย นีโรโธ จ เอวํ วาที มหาสมโณ
อุเทสิกเจดีย์ เป็นเจดีย์ที่ทำเป็นพุทธบัลลังก์ พระแท่นพระพุทธเจ้า รวมถึงพระพุทธฉายด้วย อินเดียเรียกเจดีย์ ประเภทนี้ว่า อุทเทสิกสถูป สร้างขึ้นเพื่อเป็นพุทธบูชา
รวมความได้ว่า พระเจดีย์ เป็นที่ทำเป็นหรือบรรจุสิ่งที่เนื่องด้วยพระพุทธเจ้า อันเป็นสิ่งที่ควรแก่การสักการบูชา
พระ ธาตุเจดีย์ เป็นพระเจดีย์ที่รู้จักกันดี และพบกันมากที่สุด สำหรับประเทศไทยมีอยู่เป็นจำนวนมาก มีขนาดและอายุแตกต่างกัน พอประมวลได้ดังนี้

สาเหตุเหตุที่กระดูกพระอรหันเป็นพระธาตุ 
พระอริยะหรืออริยบุคคลที่ปฏิบัติธรรมถูกหลักธรรมจักรฯนั้น กายและ ใจของท่านจะได้รับการซักฟอก ชำระล้างด้วยวิมุตติธรรม
(ธาตุธรรมอันบริสุทธิ์แท้อยู่ระหว่างรูปกับนาม อยู่เหนืออนิจจังแห่งภพสาม)
อนุสัย และ อาสวะกิเลสทั้งหลายค่อยๆ ถูกขจัดออกไปจากส่วนต่างๆทั้งกายและใจ (ทุกส่วนของขันธ์ 5)
ส่วนต่างๆที่ลมปราณเคยผ่านไปถึงจึงค่อยๆกลายเป็นพระธาตุไป กล่าวอย่างย่อก็คือว่า จิตอันบริสุทธิ์ของพระอรหันต์นั้น
มีอำนาจซักฟอกธาตุขันธ์ให้เป็นธาตุอันบริสุทธิ์ จึงเกิดเป็นพระธาตุได้
หลวง ปู่ตื้อ อจลธัมโม วัดป่าอรัญวิเวก ต.บ้านป่า อ.ศรีสงคราม จ.นครพนม พระอริยะสำคัญสายพระอาจารย์มั่น และ เป็นสหายร่วมธุดงค์ของหลวงปู่แหวน สุจิณโณ
ได้เคยกล่าวไว้ว่า "อำนาจตบะที่อริยบุคคลได้ตั้งหน้าบำเพ็ญเพียรเพื่อขัดเกลากิเลสนั้น มิได้แผดเผาชำระล้างเฉพาะกิเลสเท่านั้น
หากแต่ได้แผดเผา ชำระล้าง ซักฟอกกระดูกในร่างกายให้กลายเป็นพระธาตุไปด้วยในขณะเดียวกัน"



กระดูกของปุถุชนผู้มีกิเลสหนา
ตัณหาเหนียว ย่อมมีโครงสร้างสลับซับซ้อน ประกอบด้วยสารผสมเชิงซ้อนหลายชั้นจนมีสีดำ

กระดูกของผู้มีศีลธรรม ผู้มีกิเลศเบา
ตัณหาบาง ย่อมมีโครงสร้างโปร่งประกอบด้วยสารประกอบที่มีความสับสนน้อย มักมีสีเทา

กระดูกของพระอรหันต์
ผู้หมดจดปราศจากกิเลศตัณหา เพราะตัดสายอุปทาน (อันเป็นแรงร้อยยึดเหนี่ยว) เสียได้
กระดูกของท่านจึงสลายตัวกลายเป็นธาตุเดี่ยว กล่าวคือ ส่วนที่เป็นแคลเซียมก็รวมตัวกับแคลเซียม
ส่วนที่เป็นซิลิคอนรวมกับซิลิคอน มีสีและคุณสมบัติเป็นธาตุอันอิสระตามเดิม ซึ่งเรียกว่า พระธาตุดังนี้


*จากหนังสือ พระไตรปิฏกฉบับพิเศษ ธรรมธาตุ ธรรมชาติแห่งสรรพสิ่ง ของ ไชย ณ พล



ภาพ พระธาตุ หลวงปู่เสาร์ กันตสีโล นี้ได้รับมอบจาก วัดสายตรงหลวงปู่เสาร์ท่านเเละภายหลังจากการบูชาได้มีเส้นเกสาเสด็จมาเพิ่ม หลายเส้นเป็นอัศจรรย์

พระธาตุหลวงปู่เสาร์ กันตสีโล องค์นี้เกิดจากผงอังคารของหลวงปู่

           
เมื่อถวายให้วัดแล้วองค์พระธาตุได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง หดสั้นเข้าและหนาขึ้น


   
 
พระธาตุหลวงปู่เสาร์ ลักษณะเหมือนเมล็ดข้าวโพด
ประดิษฐานที่มณฑปพระธาตุวัดป่าศรีฐานใน อำเภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธร

     
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
     
 
 
 
     
 
 
 
     
     

     
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
     
 
 
 
     
 
 
 
     
     

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
     
 
 
 
     
 
 
 
     
     

     
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
     
 
 
 
     
 
 
 
     
     

 


 


Diese Webseite wurde kostenlos mit Homepage-Baukasten.de erstellt. Willst du auch eine eigene Webseite?
Gratis anmelden